อุปลักษณ์ความตายในหนังสือธรรมะ

วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: ยมลภัทร ภัทรคุปต์
Other Authors: ศิริพร ภักดีผาสุข
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2012
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20769
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.20769
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic ภาษาไทย -- การใช้ภาษา
อุปลักษณ์
ความตายในวรรณกรรม
ความตาย -- แง่ศาสนา -- พุทธศาสนา
spellingShingle ภาษาไทย -- การใช้ภาษา
อุปลักษณ์
ความตายในวรรณกรรม
ความตาย -- แง่ศาสนา -- พุทธศาสนา
ยมลภัทร ภัทรคุปต์
อุปลักษณ์ความตายในหนังสือธรรมะ
description วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553
author2 ศิริพร ภักดีผาสุข
author_facet ศิริพร ภักดีผาสุข
ยมลภัทร ภัทรคุปต์
format Theses and Dissertations
author ยมลภัทร ภัทรคุปต์
author_sort ยมลภัทร ภัทรคุปต์
title อุปลักษณ์ความตายในหนังสือธรรมะ
title_short อุปลักษณ์ความตายในหนังสือธรรมะ
title_full อุปลักษณ์ความตายในหนังสือธรรมะ
title_fullStr อุปลักษณ์ความตายในหนังสือธรรมะ
title_full_unstemmed อุปลักษณ์ความตายในหนังสือธรรมะ
title_sort อุปลักษณ์ความตายในหนังสือธรรมะ
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2012
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20769
_version_ 1681409032082948096
spelling th-cuir.207692012-07-12T14:18:11Z อุปลักษณ์ความตายในหนังสือธรรมะ Death metaphors in Dharma books ยมลภัทร ภัทรคุปต์ ศิริพร ภักดีผาสุข ณัฐพร พานโพธิ์ทอง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์ ภาษาไทย -- การใช้ภาษา อุปลักษณ์ ความตายในวรรณกรรม ความตาย -- แง่ศาสนา -- พุทธศาสนา วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553 วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอุปลักษณ์ความตายในหนังสือธรรมะ หน้าที่ของอุปลักษณ์ความตายในหนังสือธรรมะ และองค์ประกอบการสื่อสารตามแนวคิดทฤษฎีชาติพันธุ์วรรณนาแห่งการ-สื่อสารของหนังสือธรรมะจากหนังสือธรรมะจำนวน 21 เล่มซึ่งแต่งโดยพระธรรมาจารย์ไทย ผลการศึกษาถ้อยคำอุปลักษณ์ความตายในหนังสือธรรมะพบว่าถ้อยคำอุปลักษณ์ความตายสะท้อนมโนอุปลักษณ์ความตาย 17 มโนอุปลักษณ์ ได้แก่ [ความตายคือการเดินทาง] [ความตายคือข้าศึก-ศัตรู] [ความตายคือการดับของไฟและ/หรือแสงสว่าง] [ความตายคือวัตถุ] [ความตายคือการศึกษา] [ความตายคือการแตกของสิ่งที่เปราะบาง] [ความตายคือการสูญเสียสิ่งมีค่า] [ความตายคือการลงสู่เบื้อง-ล่าง] [ความตายคือภัยพิบัติ] [ความตายคือมิตร] [ความตายคือการชดใช้หนี้หรือการคืน] [ความตายคือการพังของบ้าน] [ความตายคือเพชฌฆาต] [ความตายคือการตายของพืช] [ความตาย คือ สัตว์ร้าย] [ความตายคือการนอน] และ [ความตายคือการปิดฉาก] สามารถจัดกลุ่มมโนอุปลักษณ์ความตายออกเป็น 5 กลุ่มใหญ่ ได้แก่ 1) ภัย 2) การเดินทางและการเคลื่อนที่ 3) การสูญเสียวัตถุและการไม่คงสภาพ 4) การ-สิ้นสุดกระบวนการ และ 5) สิ่งที่มีประโยชน์ สะท้อนมุมมอง 4 ประการ ดังนี้ 1) มนุษย์ไม่ได้เป็นอมตะ 2) ชีวิตและความตายไม่ใช่สิ่งที่ตรงข้ามกัน 3) ทุกคนควรเชื่อถือศรัทธาหันมาศึกษาธรรมะปฏิบัติธรรม และ 4) ความตายไม่ใช่สิ่งที่น่ากลัวเสียทีเดียว หากเราสามารถปรับเปลี่ยนทัศนคติที่มีต่อความตาย เราก็จะไม่ต้องมีความทุกข์ องค์ประกอบการสื่อสารของหนังสือธรรมะที่สำคัญ ได้แก่ 1) จุดมุ่งหมาย 2) ผู้ร่วมเหตุการณ์สื่อสาร 3) บรรทัดฐานการปฏิสัมพันธ์และการตีความ ผลการวิเคราะห์หน้าที่ของอุปลักษณ์ความตายในหนังสือธรรมะมี 3 ด้าน คือ 1) หน้าที่ด้านการถ่ายทอดความคิด ได้แก่ อธิบายความ ทำให้เกิดมุมมองใหม่ เป็นเหตุผลสนับสนุนให้ผู้อ่านกระทำหรือไม่กระทำการบางอย่าง 2) หน้าที่ด้านบุคคลสัมพันธ์ คือ ตกแต่งถ้อยคำเพื่อหลีกเลี่ยงคำที่ให้ผลทางลบต่อความรู้สึก และ 3) หน้าที่ด้านสัมพันธภาพ คือ การลำดับความในปริจเฉท This thesis aims at analyzing DEATH metaphors in Dharma books, and their functions. Another objective is to examine the communicative components by adopting the framework of Ethnography of Communication. The data were collected from 21 Dharma books that written by Thai Buddhist monks. The findings show that there are 17 concepts reflected by the metaphorical expressions in Dharma books, namely [DEATH IS A JOURNEY] ;[DEATH IS ENAMY] ;[DEATH IS TO EXTINGUISHING A FIRE AND/OR TURNING OFF A LIGHT] ; [DEATH IS AN ENTITY] ;[DEATH IS EDUCATION]; [DEATH IS THE BROKEN OF FRAGILE THING]; [DEATH IS LOSSING PRECIOUSE THING]; [DEATH IS GOING DOWN]; [DEATH IS A DISATER]; [DEATH IS A FRIEND]; [DEATH IS RETURNING A BORROWED MONEY OR THINGS]; [DEATH IS A DESTRUCTED HOME]; [DEATH IS A KILLER]; [DEATH IS DEATH OF A PLANT]; [DEATH IS A BRUTAL ANIMAL]; [DEATH IS SLEEPING] ;[DEATH IS THE END OF A SHOW]. These metaphors represent 4 aspects of death from the perspective of Buddhism including; 1) Human is mortal. 2) Life is not opposite to death. 3) Everybody should study and believe in Buddhism. 4) Death is not scary if we change our attitude toward it. Then we will be suffering anymore. The seventeen death concepts can be categorized to 5 groups namely, 1) disaster 2) journey and motion 3) loss or deterioration 4) an/end/ of a process and 5) useful things. The significant communicative components are 1) Ends 2) Participants and 3) Norms of interaction & interpretation. In terms of function, the findings indicate that the conceptual metaphors of death in Dharma books serve 3 functions, namely ideational function, interpersonal function and textual function. The ideational function includes explanation, reconceptualization and persuasion to do or not to do something. The personal function is to decoration, disguise and hyperbole. The textual function is aim at the organization the text. 2012-07-12T14:18:09Z 2012-07-12T14:18:09Z 2553 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20769 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1411343 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย