การศึกษาขนาดและรูปร่างแปลงทดลองที่เหมาะสมของข้าวฟ่าง และการเปรียบเทียบประสิทธิภาพระหว่างแผนการทดลองแบบสุ่มในบล็อคสมบูรณ์ และแบบแลททิซ

วิทยานิพนธ์ (พศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2526

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: เบญจพร นิรนาทกูล
Other Authors: สง่า ดวงรัตน์
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2012
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20908
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.20908
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic ข้าวฟ่าง
spellingShingle ข้าวฟ่าง
เบญจพร นิรนาทกูล
การศึกษาขนาดและรูปร่างแปลงทดลองที่เหมาะสมของข้าวฟ่าง และการเปรียบเทียบประสิทธิภาพระหว่างแผนการทดลองแบบสุ่มในบล็อคสมบูรณ์ และแบบแลททิซ
description วิทยานิพนธ์ (พศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2526
author2 สง่า ดวงรัตน์
author_facet สง่า ดวงรัตน์
เบญจพร นิรนาทกูล
format Theses and Dissertations
author เบญจพร นิรนาทกูล
author_sort เบญจพร นิรนาทกูล
title การศึกษาขนาดและรูปร่างแปลงทดลองที่เหมาะสมของข้าวฟ่าง และการเปรียบเทียบประสิทธิภาพระหว่างแผนการทดลองแบบสุ่มในบล็อคสมบูรณ์ และแบบแลททิซ
title_short การศึกษาขนาดและรูปร่างแปลงทดลองที่เหมาะสมของข้าวฟ่าง และการเปรียบเทียบประสิทธิภาพระหว่างแผนการทดลองแบบสุ่มในบล็อคสมบูรณ์ และแบบแลททิซ
title_full การศึกษาขนาดและรูปร่างแปลงทดลองที่เหมาะสมของข้าวฟ่าง และการเปรียบเทียบประสิทธิภาพระหว่างแผนการทดลองแบบสุ่มในบล็อคสมบูรณ์ และแบบแลททิซ
title_fullStr การศึกษาขนาดและรูปร่างแปลงทดลองที่เหมาะสมของข้าวฟ่าง และการเปรียบเทียบประสิทธิภาพระหว่างแผนการทดลองแบบสุ่มในบล็อคสมบูรณ์ และแบบแลททิซ
title_full_unstemmed การศึกษาขนาดและรูปร่างแปลงทดลองที่เหมาะสมของข้าวฟ่าง และการเปรียบเทียบประสิทธิภาพระหว่างแผนการทดลองแบบสุ่มในบล็อคสมบูรณ์ และแบบแลททิซ
title_sort การศึกษาขนาดและรูปร่างแปลงทดลองที่เหมาะสมของข้าวฟ่าง และการเปรียบเทียบประสิทธิภาพระหว่างแผนการทดลองแบบสุ่มในบล็อคสมบูรณ์ และแบบแลททิซ
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2012
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20908
_version_ 1681409121539063808
spelling th-cuir.209082012-08-14T09:49:16Z การศึกษาขนาดและรูปร่างแปลงทดลองที่เหมาะสมของข้าวฟ่าง และการเปรียบเทียบประสิทธิภาพระหว่างแผนการทดลองแบบสุ่มในบล็อคสมบูรณ์ และแบบแลททิซ A study on optimum plot size and shape for sorghum yield tests and relative efficiency between randomized complete block and lattice designs เบญจพร นิรนาทกูล สง่า ดวงรัตน์ นพรัตน์ ทิสยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย ข้าวฟ่าง วิทยานิพนธ์ (พศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2526 นำข้อมูลผลผลิตข้าวฟ่างจากการทดลองแบบ Uniformity trial 2ชุด มาศึกษาหาขนาดและรูปร่างของแปลงทดลองที่เหมาะสม สร้างแผนภาพแสดงความอุดมสมบูรณ์ของดินศึกษาประสิทธิภาพของการจัดบล็อก รูปร่างของบล็อก และเปรียบเทียบประสิทธิภาพระหว่างแผนแบบซิมเพิล แลททิช ทรีปเพิล แลททิช และแลททิช สแควร์ กับแผนแบบสุ่มในบล็อกสมบูรณ์ ได้ดำเนินการทดลองที่ศูนย์วิจัยข้าวโพด-ข้าวฟ่างแห่งชาติ จังหวัดนครราชสีมา และที่สถานีทดลองตากฟ้า จังหวัดนครสวรรค์ ระหว่างเดือนสิงหาคม 2524 – กุมภาพันธ์ 2525โดยปลูกข้าวฟ่างพันธุ์ ม.ก. 257 มีระยะปลูก 75×10 เซนติเมตร มีการปฏิบัติและดูแลเหมือนกันตลอดทั้งแปลง เก็บเกี่ยว กระเพาะเมล็ด และชั่งน้ำหนักผลผลิต แยกแต่ละหน่วยทดลองขนาด 0.75 ตารางเมตร มีจำนวน 2,304 หน่วยทดลองในแต่ละการทดลอง และมีการบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายในการทดลองเป็นชั่วโมง-แรงงานจากงานทดลองเพื่อคัดเลือกพันธุ์ข้าวฟ่างซึ่งวางแผนการทดลองแบบสุ่มในบล็อกสมบูรณ์ จากการศึกษาได้ผลว่า 1. ดัชนีความผันแปรของดินที่ศูนย์วิจัยข้าวโพด-ข้าวฟ่างแห่งชาติ มีค่า 0.3518 และที่สถานีทดลองตากฟ้า มีค่า 0.4244 แสดงว่าความอุดมสมบูรณ์ของดินที่ศูนย์วิจัยข้าวโพด-ข้าวฟ่างแห่งชาติ มีความสม่ำเสมอมากกว่าสถานีทดลองตากฟ้า 2. ขนาดของแปลงทดลองที่เหมาะสม ประเมินโดยใช้หลักการของ Smith (1938) ที่ศูนย์วิจัยข้าวโพด-ข้าวฟ่างแห่งชาติ เท่ากับ 6.0 ตารางเมตร และที่สถานีทดลองตากฟ้าเท่ากับ 9.0 ตารางเมตร 3. รูปร่างของแปลงทดลองต่างๆ ไม่แตกต่างกัน และรูปร่างที่เหมาะสมควรเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้าแคบยาว 4. แผนภาพแสดงความอุดมสมบูรณ์ของดินแสดงว่า พื้นที่ทดลองมีความอุดมสมบูรณ์ในระดับปานกลาง โดยแผนภาพของสถานีทดลองตากฟ้าปรากฏมีทิศทางของความอุดมสมบูรณ์ทิศทางเดียวจากซ้ายไปขวา แต่ไม่ชัดเจนนัก ส่วนที่ศูนย์วิจัยข้าวโพด-ข้าวฟ่างแห่งชาติไม่มีทิศทางของความอุดมสมบูรณ์ 5. การแบ่งพื้นที่ออกเป็นบล็อกเพิ่มประสิทธิภาพให้การทดลองซึ่งเป็นแปลงทดลองที่มีขนาดเหมาะสมในการศึกษา โดยจำนวนแปลงทดลองในบล็อกน้อย รูปร่างของบล็อกแบบสี่เหลี่ยมค่อนข้างจัตุรัสมีประสิทธิภาพของการจัดบล็อกสูงกว่ารูปแบบสี่เหลี่ยมผืนผ้าและเมื่อเพิ่มจำนวนแปลงทดลองในบล็อก รูปร่างของบล็อกแบบสี่เหลี่ยมผืนผ้ามีประสิทธิภาพดีกว่ารูปร่างแบบสี่เหลี่ยมค่อนข้างจัตุรัส 6. การเปรียบเทียบประสิทธิภาพระหว่างแผนแบบแลททิช กับแผนแบบสุ่มในบล็อกสมบูรณ์ ได้ผลว่า แลททิช สแควร์ ซิมเพิล แลททิช และ ทรีปเพิล แลททิช มีประสิทธิภาพดีกว่าแผนแบบสุ่มในบล็อกสมบูรณ์ 29 % 16% และ 9% ตามลำดับ และแลททิช สแควร์เป็นแผนการทดลองที่มีประสิทธิภาพดีที่สุดในจำนวนแผนแบบแลททิชทั้งสาม Two sets of Uniformity trial data were used to estimate the optimum size and shape of plot, to construct the soil fertility contour maps, to determine the block efficicncies, block shape and the efficiencies of simple lattice, triple lattice and lattice squares related to randomized complete block design. The trials were conducted, one at Thailand National Corn and Sorghum Research Center, Nakorn ratchasima province and the other at Takpha Experiment Station, Nakorn sawan province from August 1981 to February 1982. In both trials, KU.257 was used as the indicator variety, It was planted at 75×10 cm. spacing. Each trial, excluding border rows and end rows, was divided to 2,304 basic units of .75×1.0 m. in size. Each basic unit was harvested, treshed and weighed separately and grain yield was recorded in grams per basic unit. The conclusion of the study were as fallow : 1. Soil heterogeneity indices were found to be 0.3518 at Thailand National Corn and Sorghum Research Center and 0.4244 at Takpha Experiment Station. The indices indicated that the experi¬mental field at Thailand National Corn and Sorghum Research Center has higher correlation in soil fertility among adjacent plots than the experimental field at Takpha Experiment Station. 2. The optimum size of plot estimated by Smith's equation were about 6.0 square meters at Thailand National Corn and Sorghum Research Center and about 9.0 square meters at Takpha Experiment Station. 3. Plot shape did not appreciably effect plot variability and long and narrow shaped plot appeared practicable. 4. At Thailand National Corn and Sorghum Research Center, the fertility contour map showed a patchy fertility pattern but at Takpha Experiment Station there was a unidirectional fertility trend along the length of the field. 5. In all cases tested, the efficiency of blocking was measurable and was varied with block shapes. When the optimum sized was used and block size is small, the nearly square shaped block was better than the rectangular shaped block but when block size increased, the rectangular shaped block was found to be more practical. 6. Lattice designs were more efficient than randomized com¬plete block design. Lattice square, triple lattice and simple lattice had the efficiencies about 129%, 116% and 109% respectively in relation to randomized complete block design. From these figures it can be seen that lattice squares was the most efficient among the three lattice designs. 2012-07-15T10:13:15Z 2012-07-15T10:13:15Z 2526 Thesis 9745620025 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20908 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 410175 bytes 542993 bytes 511323 bytes 1130856 bytes 279258 bytes 607463 bytes application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย