การศึกษาแบบมอนติคาร์โล : การเปรียบเทียบอำนาจของการทดสอบของที-เทส, วิลค๊อกซอน เทส, เทอรี่-โฮฟฟ์ดิง นอร์มอล-สกอร์เทส และ แวน เดอ แวร์เดน นอร์มอล-สกอร์เทส ภายใต้ลักษณะการแจกแจงของปะชากร 3 แบบ
วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2526
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2012
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20946 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.20946 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
สถิติวิเคราะห์ เครื่องทดสอบและการวัดผลทางการศึกษา |
spellingShingle |
สถิติวิเคราะห์ เครื่องทดสอบและการวัดผลทางการศึกษา ไปรมา พจนพิมล การศึกษาแบบมอนติคาร์โล : การเปรียบเทียบอำนาจของการทดสอบของที-เทส, วิลค๊อกซอน เทส, เทอรี่-โฮฟฟ์ดิง นอร์มอล-สกอร์เทส และ แวน เดอ แวร์เดน นอร์มอล-สกอร์เทส ภายใต้ลักษณะการแจกแจงของปะชากร 3 แบบ |
description |
วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2526 |
author2 |
ดิเรก ศรีสุโข |
author_facet |
ดิเรก ศรีสุโข ไปรมา พจนพิมล |
format |
Theses and Dissertations |
author |
ไปรมา พจนพิมล |
author_sort |
ไปรมา พจนพิมล |
title |
การศึกษาแบบมอนติคาร์โล : การเปรียบเทียบอำนาจของการทดสอบของที-เทส, วิลค๊อกซอน เทส, เทอรี่-โฮฟฟ์ดิง นอร์มอล-สกอร์เทส และ แวน เดอ แวร์เดน นอร์มอล-สกอร์เทส ภายใต้ลักษณะการแจกแจงของปะชากร 3 แบบ |
title_short |
การศึกษาแบบมอนติคาร์โล : การเปรียบเทียบอำนาจของการทดสอบของที-เทส, วิลค๊อกซอน เทส, เทอรี่-โฮฟฟ์ดิง นอร์มอล-สกอร์เทส และ แวน เดอ แวร์เดน นอร์มอล-สกอร์เทส ภายใต้ลักษณะการแจกแจงของปะชากร 3 แบบ |
title_full |
การศึกษาแบบมอนติคาร์โล : การเปรียบเทียบอำนาจของการทดสอบของที-เทส, วิลค๊อกซอน เทส, เทอรี่-โฮฟฟ์ดิง นอร์มอล-สกอร์เทส และ แวน เดอ แวร์เดน นอร์มอล-สกอร์เทส ภายใต้ลักษณะการแจกแจงของปะชากร 3 แบบ |
title_fullStr |
การศึกษาแบบมอนติคาร์โล : การเปรียบเทียบอำนาจของการทดสอบของที-เทส, วิลค๊อกซอน เทส, เทอรี่-โฮฟฟ์ดิง นอร์มอล-สกอร์เทส และ แวน เดอ แวร์เดน นอร์มอล-สกอร์เทส ภายใต้ลักษณะการแจกแจงของปะชากร 3 แบบ |
title_full_unstemmed |
การศึกษาแบบมอนติคาร์โล : การเปรียบเทียบอำนาจของการทดสอบของที-เทส, วิลค๊อกซอน เทส, เทอรี่-โฮฟฟ์ดิง นอร์มอล-สกอร์เทส และ แวน เดอ แวร์เดน นอร์มอล-สกอร์เทส ภายใต้ลักษณะการแจกแจงของปะชากร 3 แบบ |
title_sort |
การศึกษาแบบมอนติคาร์โล : การเปรียบเทียบอำนาจของการทดสอบของที-เทส, วิลค๊อกซอน เทส, เทอรี่-โฮฟฟ์ดิง นอร์มอล-สกอร์เทส และ แวน เดอ แวร์เดน นอร์มอล-สกอร์เทส ภายใต้ลักษณะการแจกแจงของปะชากร 3 แบบ |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2012 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20946 |
_version_ |
1681410336099401728 |
spelling |
th-cuir.209462012-08-10T02:37:54Z การศึกษาแบบมอนติคาร์โล : การเปรียบเทียบอำนาจของการทดสอบของที-เทส, วิลค๊อกซอน เทส, เทอรี่-โฮฟฟ์ดิง นอร์มอล-สกอร์เทส และ แวน เดอ แวร์เดน นอร์มอล-สกอร์เทส ภายใต้ลักษณะการแจกแจงของปะชากร 3 แบบ Monte Carlo study : the comparison of the power of T-Test, Wilcoxon Test, Terry-Hoeffding Normal-Scores Test, and Van der Waerden Normal-Scores Test under three different types of parent distribution ไปรมา พจนพิมล ดิเรก ศรีสุโข จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย สถิติวิเคราะห์ เครื่องทดสอบและการวัดผลทางการศึกษา วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2526 การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อเปรียบเทียบอำนาจของการทดสอบ 4 วิธีคือการทดสอบที, การทดสอบของวิลด๊อกซอน, การทดสอบของเทอรี่-โฮฟฟ์ติงและการทดสอบของแวน เดอ แวร์เดนเมื่อความแปรปรวนของประชากรเท่ากันและลักษณะการแจกแจงของประชากรเป็นปกติ แบบยูนิฟอร์ม และแบบโลจิสติค ศึกษาเฉพาะกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มซึ่งมีขนาดเท่ากันโดยกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างเท่ากับ 5, 10, 15 ทำการทดลองด้วยเทคนิคมอนติคาร์โลซิมูลเลชั่นโดยจำลองการทดลองด้วยคอมพิวเตอร์ในการคำนวณหาอัตราความคลาดเคลื่อนประเภทที่ 1 และค่าอำนาจของการทดสอบทั้ง 4 วิธี ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้คือ 1. ถ้าข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์อยู่ในมาตราอันตรภาค (intervalscale) หรือมาตราอัตราส่วน (ratio scale) การทดสอบที (t-test) มีอำนาจของการทดสอบสูงที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับการทดสอบอื่นไม่ว่าจะกำหนดอัตราความคลาดเคลื่อนที่ระบุเป็น .05 หรือ .01 นอกจากนี้การทดสอบทีสามารถควบคุมความคลาดเคลื่อนประเภทที่ 1 ได้มากกว่าการทดสอบอื่นและคงทนต่อการฝ่าฝืนข้อตกลงเบื้องต้นในด้านการแจกแจงของประชากรมากกว่าการทดสอบอื่น ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าการทดสอบทีมีความแกร่งมากกว่าความแกร่งของการทดสอบอื่นที่นำมาเปรียบเทียบ 2. ถ้าข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์อยู่ในรูปของอันดับ (rank) การทดสอบของเทอรี่-โอฟฟ์ติง (Terry-Hoeffding Normal-Scores Test) และการทดสอบของแวน เดอ แวร์เดน (van der Waerden Normal-Scores Test) มีอำนาจของการทดสอบสูงกว่าการการทดสอบของวิลด๊อกซอน (Wilcoxon Test) การทดสอบของเทอรี่-โฮฟฟ์ดิงและการทดสอบของแวน เดอ แวร์เดนสามารถควบคุมความคลาดเคลื่อนประเภทที่ 1 ได้มากกว่าการทดสอบของวิลด็อกซอน ประการสุดท้ายอำนาจของการทดสอบของเทอรี่-โฮฟฟ์ดิงและอำนาจของการทดสอบของแวน เดอ แวร์เดนมีความแข่งแกร่งมากกว่าอำนาจของการทดสอบของวิลด๊อกซอน ข้อเสนอแนะ 1.เมื่อข้อมูลที่ใช้อยู่ในมาตราอันตรภาคหรือมาตราอัตราส่วนควรเลือกใช้การทดสอบทีทดสอบ 2. ถ้าข้อมูลที่ใช้อยู่ในอันดับควรเลือกใช้การทดสอบของเทอรี่-โฮฟฟ์ดิงหรือการทดสอบของแวน เดอ แวร์เดนทดสอบ The purpose of this study was to compare the power of four two-samples tests: t-test, Wilcoxon Test, Terry-Hoeffding Normal-Scores Test, and Van der Waerden Normal-Scores Test. The comparison was made under the equal population variances and different forms of distribution: the normal, the uniform and the logistic. This study was conducted with two groups of equal-size samples: 5, 10 and 15, and by means of Monte Carlo Simulation Technique. A computer was programmed to calculate type I error and power of the designed statistical tests. The findings could be summarized as follows: 1. If the data in the study were in interval scales or ratio scale, the t-test, when compared with the rest, had the highest test power no matter the error rate was either at 0.05 or 0.01. Besides, the t-test could also control type I error rate and robust basic assumptions much better than the other tests. It, thus, finally had more robustness power than the rest. 2. If the data in the study were in ordinal scale, or rank data, it appeared that Terry-Hoeffding Normal-Scores Test and Van der Waerden Normal-Snores Test had the highest test per when compared with Wilcoxon Test. They, thus, finally had more robustness power than Wilcoxon Test. Suggestions: 1. When the data are in interval or ratio scales, t-test should be used. 2. If the data are in ordinal scale, either Terry-Hoeffding Normal-Scores Test or Van der Waerden Normal-Scores Test should be used. 2012-07-16T14:24:06Z 2012-07-16T14:24:06Z 2526 Thesis 9745622206 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20946 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 477943 bytes 535857 bytes 530200 bytes 617035 bytes 1383358 bytes 652614 bytes 1325958 bytes application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |