การติดตามผู้สำเร็จประโยคมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญ จากโรงเรียนราษฎร์
วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2521
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2012
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21086 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.21086 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
การศึกษาขั้นมัธยม -- วิจัย นักเรียน -- การสำรวจ |
spellingShingle |
การศึกษาขั้นมัธยม -- วิจัย นักเรียน -- การสำรวจ ปาน กิมปี การติดตามผู้สำเร็จประโยคมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญ จากโรงเรียนราษฎร์ |
description |
วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2521 |
author2 |
ก่อ สวัสดิ์พาณิชย์ |
author_facet |
ก่อ สวัสดิ์พาณิชย์ ปาน กิมปี |
format |
Theses and Dissertations |
author |
ปาน กิมปี |
author_sort |
ปาน กิมปี |
title |
การติดตามผู้สำเร็จประโยคมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญ จากโรงเรียนราษฎร์ |
title_short |
การติดตามผู้สำเร็จประโยคมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญ จากโรงเรียนราษฎร์ |
title_full |
การติดตามผู้สำเร็จประโยคมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญ จากโรงเรียนราษฎร์ |
title_fullStr |
การติดตามผู้สำเร็จประโยคมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญ จากโรงเรียนราษฎร์ |
title_full_unstemmed |
การติดตามผู้สำเร็จประโยคมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญ จากโรงเรียนราษฎร์ |
title_sort |
การติดตามผู้สำเร็จประโยคมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญ จากโรงเรียนราษฎร์ |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2012 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21086 |
_version_ |
1681409321080979456 |
spelling |
th-cuir.210862012-08-10T01:58:41Z การติดตามผู้สำเร็จประโยคมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญ จากโรงเรียนราษฎร์ A follow-up study of private high school graduates ปาน กิมปี ก่อ สวัสดิ์พาณิชย์ ธีระชัย ปูรณโชติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย การศึกษาขั้นมัธยม -- วิจัย นักเรียน -- การสำรวจ วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2521 วัตถุประสงค์ของการวิจัยนี้มุ่งที่จะติดตามผลสำเร็จประโยคมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญจากโรงเรียนราษฎร์ที่ได้ศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ อีกทั้งเปรียบเทียบจำนวนผู้ศึกษาต่อ ประกอบอาชีพ และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้สำเร็จประโยคมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญจากโรงเรียนราษฎร์ ที่มีมาตรฐานของคุณภาพระดับดีและระดับปานกลางตามเกณฑ์ของคณะกรรมการการศึกษาเอกชนในช่วงปีการศึกษา 2517-2519 ซึ่งต้องใช้ขนาดกลุ่มตัวอย่างพอเหมาะ 388 คน ผู้วิจัยได้จดข้อมูลจากสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน และสำนักทดสอบทางการศึกษา กรมวิชาการ ส่วนข้อมูลที่ต้องรวบรวมจากกลุ่มตัวอย่างนั้น ใช้แบบสอบถามซึ่งผู้วิจัยได้สร้างขึ้น โดยส่งทางไปรษณีย์ทั้งสิ้นจำนวน 555 ฉบับ และได้รับแบบสอบถามคืนรวมทั้งการสัมภาษณ์จำนวน 391 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 70.45 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงร้อยละทดสอบความมีนัยสำคัญโดยใช้สถิติทดสอบค่าที (t-test) ค่าซี (z-test) ผลการวิจัยพบว่า 1. ผู้สำเร็จประโยคมัธยมศึกษาตอนปลายได้ศึกษาต่อ ณ มหาวิทยาลัยรามคำแหงรวมทั้งการประกอบอาชีพควบกับการเรียนด้วยร้อยละ 50.13 ศึกษาต่อปริญญาในมหาวิทยาลัยร้อยละ 23.53 ระดับปริญญาในวิทยาลัยเอกชนร้อยละ 15.60 ว่างงานร้อยละ 4.09 ศึกษาต่อระดับอนุปริญญาของรัฐร้อยละ 3.84 และอื่นๆ ร้อยละ 2.81 2. การศึกษาต่อระดับปริญญาของรัฐ มีผู้ศึกษาต่อที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมากที่สุด ส่วนประเภทวิชาที่สอบเข้าได้มากที่สุดคือวิชาวิทยาศาสตร์ ส่วนผู้ศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยรามคำแหงเรียนคณะบริหารธุรกิจเป็นอันดับหนึ่ง และคณะศึกษาศาสตร์เป็นอันดับสุดท้าย 3. อาชีพที่ประกอบส่วนมากคือพนักงานบริการ ส่วนใหญ่ของผู้ประกอบอาชีพสังกัดอยู่กับเอกชน และรายได้ขั้นต้นต่อเดือนประมาณ 965 บาท 4. ผลการเปรียบเทียบจำนวนผู้ศึกษาต่อระดับปริญญาของรัฐและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แผนกวิทยาศาสตร์ ปีการศึกษา 2517 ปรากฏว่าโรงเรียนราษฎร์ระดับดีสูงกว่าระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ส่วนแผนกศิลปะและทุกแผนกของปีการศึกษาอื่น โรงเรียนราษฎร์ระดับดีและโรงเรียนราษฎร์ระดับปานกลางไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 5. ผลการเปรียบเทียบจำนวนผู้ประกอบอาชีพ ของผู้สำเร็จประโยคมัธยมศึกษาตอนปลายจากโรงเรียนราษฎร์ระดับดีต่ำกว่าระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 The purposes of this study were to follow - up the high school graduates from private schools in the Bangkok Metropolitan area, who have succesfully entranced higher education or have acquired a job. The purpose was also to compare between the schools of "good" level with "medium" level in the aspects of : number of graduates who can enter the university, number of graduates who can get jobs, and their education achievement at the graduation examination this is for the academic years of 1974 to 1976. The sample consisted of 388 students randomly selected from the file at the office of Private Education Commission and Testing Techniques Beureau of Department of Educational Techniques. Questionnaire was sent to the sample for nessessary information. The total questionnaires were sent to 555 persons and the return was about 391, or 70.45 percent. Data were analyzed by using such statistics as percentage and tested by t - test, z - test. Major findings were as follows 1) the private high school graduates who studied in Ramkamheang University, including those who held, job during study, were 50.13 percent, who studied in government university were 23.53 percent, who studied in private colleges were 15.60 percent, unemployed 4.04 percent, who studied in the diploma level in government institutions were 3.84 percent, and the rest 2.81 percent include the dead and those who went for Foreign study. 2) Among the students who studied in regular government universities most of them studied in Chullongkorn University. The department that most students studied was Sciences. Among the student who studied in Ramkamheang University, most of them studeied in Faculty of Business Administration, The least faculty that students studied was education. 3) The job that of the students held was in the category of service under private campanies. The starting pay was about 965 baht per month. 4) Comparisons of numbers of successful entrances into regular government universitites and their academic achievements show that graduates from the "good" level private schools were generally higher in both cases than graudates from the "medium" level private schools. The .05 significance level was found for the number comparison of all years, and the achievement of science graduates of the year 1974. But for the Arts graduates of this year as well as graduates in other areas of all year are not signifidant. 5) Comparison of number of job holders show that graduate from the "good" level private high schools were significantly lower than those from the "medium" level private high schools (P < .05) 2012-07-22T04:30:14Z 2012-07-22T04:30:14Z 2521 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21086 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 489377 bytes 486466 bytes 1089082 bytes 811705 bytes 1402021 bytes 2911793 bytes 1017022 bytes 1888620 bytes application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |