การพัฒนากลยุทธ์การเสริมพลังอำนาจครูโรงเรียนเอกชน
วิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2553
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2012
|
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21310 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.21310 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
description |
วิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2553 |
author2 |
ชญาพิมพ์ อุสาโห |
author_facet |
ชญาพิมพ์ อุสาโห อ้อมอารี สุวรรณศรี |
format |
Theses and Dissertations |
author |
อ้อมอารี สุวรรณศรี |
spellingShingle |
อ้อมอารี สุวรรณศรี การพัฒนากลยุทธ์การเสริมพลังอำนาจครูโรงเรียนเอกชน |
author_sort |
อ้อมอารี สุวรรณศรี |
title |
การพัฒนากลยุทธ์การเสริมพลังอำนาจครูโรงเรียนเอกชน |
title_short |
การพัฒนากลยุทธ์การเสริมพลังอำนาจครูโรงเรียนเอกชน |
title_full |
การพัฒนากลยุทธ์การเสริมพลังอำนาจครูโรงเรียนเอกชน |
title_fullStr |
การพัฒนากลยุทธ์การเสริมพลังอำนาจครูโรงเรียนเอกชน |
title_full_unstemmed |
การพัฒนากลยุทธ์การเสริมพลังอำนาจครูโรงเรียนเอกชน |
title_sort |
การพัฒนากลยุทธ์การเสริมพลังอำนาจครูโรงเรียนเอกชน |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2012 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21310 |
_version_ |
1681409520276865024 |
spelling |
th-cuir.213102012-08-05T09:30:00Z การพัฒนากลยุทธ์การเสริมพลังอำนาจครูโรงเรียนเอกชน Development of empowerment strategies for private school teachers อ้อมอารี สุวรรณศรี ชญาพิมพ์ อุสาโห สิริพันธุ์ สุวรรณมรรคา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ วิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2553 การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์โดยทั่วไปเพื่อพัฒนากลยุทธ์การเสริมพลังอำนาจครูโรงเรียนเอกชน โดยมีวัตถุประสงค์เฉพาะเพื่อ 1)ศึกษาระดับพลังอำนาจครูโรงเรียนเอกชน 2)วิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา และสภาพแวดล้อมในการเสริมพลังอำนาจครูโรงเรียนเอกชน 3)กำหนดกลยุทธ์การเสริมพลังอำนาจครูโรงเรียนเอกชน และ4)ประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของกลยุทธ์การเสริมพลังอำนาจครูโรงเรียนเอกชน วิธีวิจัยที่ใช้เป็นแบบผสมผสานระหว่างการศึกษาเชิงปริมาณและการศึกษาเชิงคุณภาพ การศึกษาเชิงปริมาณเก็บรวบรวมข้อมูลระดับพลังอำนาจครูและสภาพปัจจุบัน ปัญหา และสภาพแวดล้อมในการเสริมพลังอำนาจครูจากกลุ่มตัวอย่างคือโรงเรียนเอกชนประเภทสามัญศึกษาจำนวน 372 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วยผู้อำนวยการโรงเรียน 372 คนและครู 1,129 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม 2 ฉบับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การศึกษาเชิงคุณภาพศึกษาสภาพแวดล้อมและกลยุทธ์การเสริมพลังอำนาจครูจากกรณีศึกษาที่ประสบผลสำเร็จในการเสริมพลังอำนาจครูจำนวน 3 โรง แบ่งตามขนาดโรงเรียน นำข้อมูลที่ได้จากการศึกษาเชิงปริมาณและคุณภาพมากำหนดกลยุทธ์การเสริมพลังอำนาจครูโรงเรียนเอกชน โดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์ SWOT แล้วตรวจสอบความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของกลยุทธ์การเสริมพลังอำนาจครูโรงเรียนเอกชนด้วยการจัดสนทนากลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 10 คน ผลการวิจัยพบว่า 1.ระดับพลังอำนาจครูโรงเรียนเอกชนตามความเชื่อ 4 มิติโดยภาพรวมในโรงเรียนทุกขนาดอยู่ในระดับสูง เมื่อพิจารณาระดับพลังอำนาจตามมิติความเชื่อพบว่าระดับพลังอำนาจครูโรงเรียนเอกชนสูงทุกมิติตามลำดับดังนี้1)มิติความเชื่อด้านผลกระทบ 2)มิติความเชื่อด้านความหมาย 3)มิติความเชื่อด้านสมรรถนะ และ4)มิติความเชื่อด้านอิสระ ส่วนการเสริมพลังอำนาจครูโรงเรียนเอกชนที่ผู้บริหารใช้คือการขจัดเงื่อนไขที่ทำให้พลังอำนาจครูต่ำ และการส่งเสริมให้ครูได้รับรู้สมรรถนะการทำงาน ปัญหาในการเสริมพลังอำนาจครูโรงเรียนเอกชนพบว่าเป็นปัญหาที่เกิดจากตัวครู สภาพแวดล้อม และผู้บริหารตามลำดับ สภาพแวดล้อมการเสริมพลังอำนาจครูโรงเรียนเอกชนในโรงเรียนทุกขนาดเอื้อต่อการเสริมพลังอำนาจครูโรงเรียนเอกชน 2. กลยุทธ์การเสริมพลังอำนาจครูโรงเรียนเอกชนประกอบด้วยกลยุทธ์ด้านการขจัดเงื่อนไขที่ทำให้พลังอำนาจครูต่ำได้แก่ กลยุทธ์การสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ กลยุทธ์การสร้างความสำเร็จในวิชาชีพครู กลยุทธ์การสร้างจิตสำนึกความเป็นเจ้าของ และกลยุทธ์ด้านการส่งเสริมให้ครูได้รับรู้สมรรถนะการทำงานได้แก่กลยุทธ์การส่งเสริมการทำงานเป็นทีม กลยุทธ์การสร้างเวทีศักยภาพครู และกลยุทธ์การสร้างขวัญกำลังใจ The general purpose of this research was to develop empowerment strategies for private school teachers. Specific purposes were: 1) to study the power level of private school teachers empowerment. 2) to analyze state of problems and environment of the teachers empowerment in private school. 3) to formulate empowerment strategies for private school teachers. 4) to evaluate the appropriate and feasible empowerment strategies for private school teachers. Methodology used is mixed between the quantitative and qualitative research. Unit of analysis in quantitative study were 372 schools. Samples were collected from 372 school administrators and 1129 teachers in private schools. Data collecting by using two questionnaires. Data analyzing by using frequencies, percentage, mean, standard deviation. Three Schools that succeeded in teacher empowerment strategies were selected for qualitative study in order to formulate strategies by using SWOT analysis technique. Then the strategies were examined using focus group technique. The research result were summarized as follows: 1. The power level of private school teachers empowerment from all sizes of school were high in 4 dimensions. The sequences of the dimensions were believing in impact, meaning, competency and autonomy. To empowerment the teacher, administrators fully implemented by removing conditions of powerlessness and enhancing job-related self-efficacy. The problems in the empowerment of private school teachers were caused by teachers, environment and administrators. Internal schools environment of the teachers empowerment in all sizes of private school promote teachers empowerment. 2. The empowerment strategies for private school teachers consist of 2 parts which are 3 strategies for removing conditions of powerlessness and 3 strategies for enhancing job-related self-efficacy. The strategies to remove conditions of powerlessness include creating the learning organization strategy, creating the achievement of teacher professional strategy and creating sense of belonging strategy. The strategies to enhance job-related self-efficacy include encouraging using teamwork system strategy, creating the potential stage for teacher strategy and giving motivation and encouragement to teacher strategy. 2012-08-05T09:29:59Z 2012-08-05T09:29:59Z 2553 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21310 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 4587596 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |