ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อการท่องเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ำในจังหวัดสมุทรสงคราม

วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: นิลุบล ผ่องศรี
Other Authors: ดุษฎี ชาญลิขิต
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2012
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21369
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.21369
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ -- ไทย -- สมุทรสงคราม
spellingShingle ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ -- ไทย -- สมุทรสงคราม
นิลุบล ผ่องศรี
ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อการท่องเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ำในจังหวัดสมุทรสงคราม
description วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550
author2 ดุษฎี ชาญลิขิต
author_facet ดุษฎี ชาญลิขิต
นิลุบล ผ่องศรี
format Theses and Dissertations
author นิลุบล ผ่องศรี
author_sort นิลุบล ผ่องศรี
title ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อการท่องเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ำในจังหวัดสมุทรสงคราม
title_short ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อการท่องเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ำในจังหวัดสมุทรสงคราม
title_full ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อการท่องเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ำในจังหวัดสมุทรสงคราม
title_fullStr ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อการท่องเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ำในจังหวัดสมุทรสงคราม
title_full_unstemmed ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อการท่องเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ำในจังหวัดสมุทรสงคราม
title_sort ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อการท่องเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ำในจังหวัดสมุทรสงคราม
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2012
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21369
_version_ 1681412760619974656
spelling th-cuir.213692012-08-11T02:05:07Z ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อการท่องเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ำในจังหวัดสมุทรสงคราม A geographic information system for eco-tourism in Changwat Samut Songkhram นิลุบล ผ่องศรี ดุษฎี ชาญลิขิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์ ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ -- ไทย -- สมุทรสงคราม วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์ และจัดทำเส้นทางแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ำในจังหวัดสมุทรสงคราม โดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เพื่อเป็นแนวทางส่งเสริมการท่องเที่ยวในจังหวัดสมุทรสงคราม การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ เริ่มต้นด้วยทำการสำรวจเส้นทางน้ำ โดยใช้ GPS ในการกำหนดตำแหน่งของแหล่งท่องเที่ยว ซึ่งแหล่งท่องเที่ยวแบ่งเป็น 3 ประเภท ได้แก่ ประเภทธรรมชาติ ประเภทประวัติศาสตร์ โบราณ สถาน/วัตถุ และศาสนา และประเภทศิลปวัฒนธรรม ประเพณีและกิจกรรม นอกจากนี้ ยังทำการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญในการจัดเส้นทางท่องเที่ยวทางน้ำในจังหวัดสมุทรสงคราม จำนวน 16 ท่าน จาก 4 ท่าเรือ ได้แก่ ท่าเรือตลาดน้ำยามเย็นอัมพวา ท่าเรือตลาดน้ำท่าคา ท่าเรือศาลกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ และท่าเรือกลุ่มวิสาหกิจชุมชนหมู่บ้านคลองช่อง แล้วนำมาทำการวิเคราะห์โดยใช้แผนผังต้นไม้ และวิธีการจัดหมู่ จนได้เส้นทางการท่องเที่ยวมาทั้งหมด 36 เส้นทาง จากนั้น จึงนำทั้ง 36 เส้นทางไปวิเคราะห์หาเส้นทางที่สั้นที่สุด ด้วยวิธีการวิเคราะห์โครงข่าย (Network Analysis) ผลการวิเคราะห์ ทำให้ได้เส้นทางที่สั้นที่สุด 36 เส้นทาง มีเพียง 8 เส้นทาง เท่านั้น ที่ตรงกับการจัดเส้นทางของผู้เชี่ยวชาญ ได้แก่ เส้นทางที่ 3 เส้นทางที่ 5 เส้นทางที่ 6 เส้นทางที่ 7 เส้นทางที่ 26 เส้นทางที่ 33 เส้นทางที่ 34 และ เส้นทางที่ 35 ส่วนอีก 28 เส้นทางนั้น เป็นผลจากการวิเคราะห์ที่ไม่ตรงกับเส้นทางที่ผู้เชี่ยวชาญจัดไว้ กล่าวโดยสรุประบบสารสนเทศภูมิศาสตร์สามารถใช้วิเคราะห์หาเส้นทางท่องเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ำได้เป็นอย่างดี แต่ในความเป็นจริง การจัดเส้นทางท่องเที่ยวไม่ได้คำนึงถึงระยะทางที่สั้นที่สุดเท่านั้น แต่ยังมีปัจจัยทางด้านพื้นที่อีกหลายด้านเข้ามาเกี่ยวข้อง ด้วยเหตุนี้ ผู้เชี่ยวชาญจึงนิยมจัดเส้นทางตามลำน้ำที่เดินทางได้สะดวกและเข้าถึงได้ง่ายกว่า ที่จะคำนึงถึงระยะทางที่สั้นกว่า The objective of the study is to analyze and provide the Eco-tourism canal routes in Changwat Samut Songkhram by means of a network analysis module embedded in the Geographic Information Systems (GIS) software and to help meet the requirement of the guideline to tourism in Changwat Samut Songkhram. The research is regarded as a survey research. To begin with, the author starts surveying the canal routes with a hand-held GPS in order to locate the positions of the tourism areas. The areas can be separated into 3 types: the natural attractive areas, the ancient sites and artifact areas, the art and cultural attractive areas. Furthermore the interview of 16 local specialists has been conducted for making the Eco-tourism canal routes in Changwat Samut Songkhram from 4 piers. They are consisted of the Amphawa sunset floating market pier, the Tha Kha floating market pier, the Prince Chumporn Ketch Udom Sak shrine pier and Ban Khlong Chong enterprise community pier. As a result, there are 36 canal route options. Later on, they all are analyzed in order to provide the shortest canal routes using a decision tree analysis, a combination approach and the network analysis methods. According to the study, the 36 shortest canal routes have been chosen. Only 8 routes are relevant to the results designated by the specialists. The routes comprise No.3, 5, 6, 7, 26, 33, 34 and 35. However, the remaining 28 routes are irrelevant to the results of the specialists. It is therefore concluded that the GIS technique can only be effectively used to analyze the shortest routes from the Eco-tourism canal routes. In facts, the arrangement of Eco-tourism canal routes is not only concerned about the shortest routes but other spatial factors have also been involved. Consequently, the specialists are determined to select the canal routes which are far more convenient and accessible than the shortest distance. 2012-08-11T02:05:06Z 2012-08-11T02:05:06Z 2550 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21369 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 7520239 bytes application/pdf application/pdf สมุทรสงคราม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย