คุณภาพทางจุลชีววิทยาของผลิตภัณฑ์สมุนไพร
การศึกษาคุณภาพทางจุลชีววิทยาของผลิตภัณฑ์สมุนไพร 120 ตัวอย่าง พบว่า มีผลิตภัณฑ์ที่เข้ามามาตรฐานเป็นยารับประทาน 12 ตัวอย่าง (10.0%) ยาชง 1 ตัวอย่าง (0.8%) ยาใช้ภายนอก 4 ตัวอย่าง (3.3%) เครื่องดื่มสมุนไพร 10 ตัวอย่าง (8.3%) และเครื่องสำอางสมุนไพร 19 ตัวอย่าง (15.8%) รวมทั้งสิ้น 46 ตัวอย่าง (38.3%) ผลิต...
Saved in:
Main Authors: | , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Technical Report |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2006
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2174 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
Summary: | การศึกษาคุณภาพทางจุลชีววิทยาของผลิตภัณฑ์สมุนไพร 120 ตัวอย่าง พบว่า มีผลิตภัณฑ์ที่เข้ามามาตรฐานเป็นยารับประทาน 12 ตัวอย่าง (10.0%) ยาชง 1 ตัวอย่าง (0.8%) ยาใช้ภายนอก 4 ตัวอย่าง (3.3%) เครื่องดื่มสมุนไพร 10 ตัวอย่าง (8.3%) และเครื่องสำอางสมุนไพร 19 ตัวอย่าง (15.8%) รวมทั้งสิ้น 46 ตัวอย่าง (38.3%) ผลิตภัณฑ์สมุนไพรพบเชื้อก่อโรค 10 ตัวอย่าง (8.3%) เป็นยา 7 ตัวอย่าง (5.8%) และเครื่องสำอาง 3 ตัวอย่าง (2.5%) ในรูปแบบผลิตภัณฑ์ที่พบเป็นของแข็ง รูปแบบเม็ด ลูกกลอน แคปซูลและผง ส่วนของเหลว คือ แชมพูและครีมนวดผม การทดสอบฤทธิ์ต้านจุลินทรีย์ของผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่ระบบสรรพคุณพบจำนวนสมุนไพรที่มีฤทธิ์ต้าน Staphylococcus aureus ATCC 29213, Salmonella typhi ATCC 13311, Streptococcus pyogenes DMS 3393, Pseudomonas aeruginosa ATCC 27853 และ Escherichia coli ATCC 25922 เป็น 66.7%, 62.5%, 50.0%, 40.0% และ 12.5% ตามลำดับ ส่วน Tricophyton mentagrophytes (a clinical isolate) และ Candida albicans ATCC 10231 เป็น 81.8%และ 58.8% ตามลำดับ |
---|