การพัฒนารูปแบบการบริหารแบบมีส่วนร่วมสำหรับโรงเรียนดีประจำตำบล
วิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2012
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22061 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.22061 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cuir.220612012-12-17T03:10:24Z การพัฒนารูปแบบการบริหารแบบมีส่วนร่วมสำหรับโรงเรียนดีประจำตำบล Development of a participative management model for outstanding subdistrict schools เกสิณี ชิวปรีชา ชญาพิมพ์ อุสาโห พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ โรงเรียน -- การบริหาร การจัดการ -- การมีส่วนร่วมของลูกจ้าง School management and organization Management -- Employee participation วิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554 การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1)ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารแบบมีส่วนร่วมในโรงเรียนดีประจำตำบล 2)เพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารแบบมีส่วนร่วมสำหรับโรงเรียนดีประจำตำบล โดยมีขั้นตอนการวิจัย 4 ขั้นตอน คือ (1) ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารแบบมีส่วนร่วมในโรงเรียนดีประจำตำบล ใช้กลุ่มตัวอย่าง 123 โรงเรียน โดยใช้แบบสอบถามมาตรประมาณค่า 5 ระดับ หาค่าเฉลี่ย หาความต้องการจำเป็นในการใช้รูปแบบการบริหารแบบมีส่วนร่วม (2) ร่างรูปแบบการบริหารแบบมีส่วนร่วมสำหรับโรงเรียนดีประจำตำบล (3) ประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของรูปแบบ โดยผู้ทรงคุณวุฒิเป็นรายบุคคล 30 คน และประชุมกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ 15 คน และ (4) ปรับปรุงและนำเสนอรูปแบบการบริหารแบบมีส่วนร่วมสำหรับโรงเรียนดีประจำตำบล การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงบรรยาย และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยมีดังนี้ (1) สภาพปัจจุบันของการบริหารแบบมีส่วนร่วมในโรงเรียนดีประจำตำบล ในภาพรวม ใช้รูปแบบโดยผู้บริหารโรงเรียนเป็นหลัก อยู่ในระดับปานกลาง (X-bar = 2.72) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน การวางแผน อยู่ในระดับมาก (X-bar = 3.95) การนำแผนไปสู่การปฏิบัติอยู่ในระดับมาก (X-bar = 3.98) ส่วนการประเมินผลอยู่ในระดับปานกลาง (X-bar = 3.20) และสภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารแบบมีส่วนร่วมในโรงเรียนดีประจำตำบล ในภาพรวม ใช้รูปแบบโดยผู้บริหารโรงเรียนเป็นหลัก อยู่ในระดับมาก (X-bar = 3.75) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน การวางแผน อยู่ในระดับมากที่สุด (X-bar = 4.51) การนำแผนไปสู่การปฏิบัติ อยู่ในระดับมาก (X-bar = 4.26) ส่วนการประเมินผลโดยครูเป็นหลักอยู่ในระดับมาก (X-bar = 4.45) ความต้องการจำเป็นในการบริหารแบบมีส่วนร่วมโดยครูและชุมชนเป็นหลักเรียงลำดับ ดังนี้ การประเมินผล (PNI = .80) การนำแผนไปสู่การปฏิบัติ (PNI = .53) และการวางแผน (PNI = .49) (2) รูปแบบการบริหารแบบมีส่วนร่วมสำหรับโรงเรียนดีประจำตำบล ควรใช้รูปแบบการบริหารแบบมีส่วนร่วมสำหรับโรงเรียนดีประจำโดยครูและชุมชนเป็นหลัก โดยมีหลักการ แนวคิด และวัตถุประสงค์ของรูปแบบ และองค์ประกอบของการบริหาร ประกอบด้วย การวางแผน การนำแผนไปสู่การปฏิบัติ และการประเมินผลโดยครูและชุมชนเป็นหลัก The purpose of this research were to 1) study degree of success and importance for a participative management of outstanding subdistrict school. 2) develop a participative management model for outstanding subdistrict school. It was processed by a research and development approach. Which consisted of 4 steps as follows: (1) study of 123 schools (2) a construction of the model (3) a verification of the model by 30 expert and an evaluation of the model by focus group 15 expert and the final improvement of the model. The research instruments were a questionnaire and an evaluation from. Data were analyzed by content analysis and descriptive statistics. The research results were as follow: 1)The model composed of 4 parts. The 1st part was a participative management model for outstanding subdistrict school is professional and community control. The 2nd part wasthe principle and objective of a participative management model. The 3rd part was an Implementation process which consisted of 4 factors. They were preparation, implementation process, evaluation and report. And the 4th part was conditions of a the participative management model which composed of successful and obstacle factors and there sources of factors (superordinate, subordinate and participants). 2) The developed model was evaluated at a high level by experts and school administrators to be suitable and possible for implementation. 2012-09-10T02:10:40Z 2012-09-10T02:10:40Z 2554 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22061 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 3372476 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
โรงเรียน -- การบริหาร การจัดการ -- การมีส่วนร่วมของลูกจ้าง School management and organization Management -- Employee participation |
spellingShingle |
โรงเรียน -- การบริหาร การจัดการ -- การมีส่วนร่วมของลูกจ้าง School management and organization Management -- Employee participation เกสิณี ชิวปรีชา การพัฒนารูปแบบการบริหารแบบมีส่วนร่วมสำหรับโรงเรียนดีประจำตำบล |
description |
วิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554 |
author2 |
ชญาพิมพ์ อุสาโห |
author_facet |
ชญาพิมพ์ อุสาโห เกสิณี ชิวปรีชา |
format |
Theses and Dissertations |
author |
เกสิณี ชิวปรีชา |
author_sort |
เกสิณี ชิวปรีชา |
title |
การพัฒนารูปแบบการบริหารแบบมีส่วนร่วมสำหรับโรงเรียนดีประจำตำบล |
title_short |
การพัฒนารูปแบบการบริหารแบบมีส่วนร่วมสำหรับโรงเรียนดีประจำตำบล |
title_full |
การพัฒนารูปแบบการบริหารแบบมีส่วนร่วมสำหรับโรงเรียนดีประจำตำบล |
title_fullStr |
การพัฒนารูปแบบการบริหารแบบมีส่วนร่วมสำหรับโรงเรียนดีประจำตำบล |
title_full_unstemmed |
การพัฒนารูปแบบการบริหารแบบมีส่วนร่วมสำหรับโรงเรียนดีประจำตำบล |
title_sort |
การพัฒนารูปแบบการบริหารแบบมีส่วนร่วมสำหรับโรงเรียนดีประจำตำบล |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2012 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22061 |
_version_ |
1681412084319911936 |