ความน่าเชื่อถือในการออกแบบระเบิดหิน และควบคุมผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม : รายงานฉบับสมบูรณ์
การออกแบบระเบิดหินที่มีการตัดเนินเขาแบบขั้นบันไดได้มีการทบทวน จากนั้นนำข้อเด่นของผลงานที่นำเสนอมาประยุกต์กับงานภาคสนามของประเทศไทย แบบจำลองผังระเบิดหินรวมทั้งโปรแกรมสำเร็จรูปที่ออกแบบโครงการนี้ค้นคว้ามี 2 แบบ ทั้งสองแนวทางถูกออกแบบโดยมีจุดประสงค์ เพื่อให้มีการใช้วัตถุระเบิดให้เหมาะสมกับชนิดหิน และรู...
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Technical Report |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2006
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2242 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.2242 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cuir.22422007-12-03T07:52:56Z ความน่าเชื่อถือในการออกแบบระเบิดหิน และควบคุมผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม : รายงานฉบับสมบูรณ์ Reliability of rock blasting design and its control for impacts to environment สง่า ตั้งชวาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาวิศวกรรมเหมืองแร่และปิโตรเลียม การระเบิด การสั่นสะเทือน การออกแบบระเบิดหินที่มีการตัดเนินเขาแบบขั้นบันไดได้มีการทบทวน จากนั้นนำข้อเด่นของผลงานที่นำเสนอมาประยุกต์กับงานภาคสนามของประเทศไทย แบบจำลองผังระเบิดหินรวมทั้งโปรแกรมสำเร็จรูปที่ออกแบบโครงการนี้ค้นคว้ามี 2 แบบ ทั้งสองแนวทางถูกออกแบบโดยมีจุดประสงค์ เพื่อให้มีการใช้วัตถุระเบิดให้เหมาะสมกับชนิดหิน และรูปแบบเชิงเรขาคณิตของหน้าเหมืองหิน ทั้งนี้มีเป้าหมายให้ความเชื่อถือได้ของงานระเบิดหินอยู่ในระดับสูง หินที่แตกหักจากการระเบิดมีขนาดที่ดี และมีการควบคุมผลกระทบให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน การวิเคราะห์เชิงสถิติของข้อมูลดิบผลตรวจวัดในการปฏิบัติงานจริงภาคสนาม โดยวิธีถดถอยเชิงเส้นกับวิธีหาค่าความน่าจะเป็นเพื่อหาระดับขั้นของเกณฑ์ความเสียหาย มีค่าตัวเลขผลลัพธ์ที่เชื่อถือได้ว่า เมื่อเปรียบเทียบตัวแปรของงานระเบิดหินที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชน การปฏิบัติงานระเบิดหินในประเทศมีความเสี่ยงต่ำที่จะก่อให้เกิดความเสียหาย Blast design methods for bench cutting slope were reviewed. Next step was to induce the distinguished works applying for the field practice in Thialand. Design methods for modeling of rock blasting plan in this project were divided into 2 patterns. Both methods were designed for using appropriate amounts of explosive for a particular rock type, and matching with the geometric pattern of quarry face. The aims are to guarantee the high level of reliability. Required size of fragments from blasting are obtained and impacts are controlled within the standards criteria. Statistical methods for analyzing the real field data were done by linear regression and probability. These applications were to find the level of damage. There were reliable numerical results suggesting that when one compares the blast variables which having impacts to environment and community, the blast practice in Thailand indicates lower chances of risk to cause such damages. ทุนงบประมาณแผ่นดินปี 2541 2006-08-26T08:24:17Z 2006-08-26T08:24:17Z 2543 Technical Report http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2242 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 87891898 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
การระเบิด การสั่นสะเทือน |
spellingShingle |
การระเบิด การสั่นสะเทือน สง่า ตั้งชวาล ความน่าเชื่อถือในการออกแบบระเบิดหิน และควบคุมผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม : รายงานฉบับสมบูรณ์ |
description |
การออกแบบระเบิดหินที่มีการตัดเนินเขาแบบขั้นบันไดได้มีการทบทวน จากนั้นนำข้อเด่นของผลงานที่นำเสนอมาประยุกต์กับงานภาคสนามของประเทศไทย แบบจำลองผังระเบิดหินรวมทั้งโปรแกรมสำเร็จรูปที่ออกแบบโครงการนี้ค้นคว้ามี 2 แบบ ทั้งสองแนวทางถูกออกแบบโดยมีจุดประสงค์ เพื่อให้มีการใช้วัตถุระเบิดให้เหมาะสมกับชนิดหิน และรูปแบบเชิงเรขาคณิตของหน้าเหมืองหิน ทั้งนี้มีเป้าหมายให้ความเชื่อถือได้ของงานระเบิดหินอยู่ในระดับสูง หินที่แตกหักจากการระเบิดมีขนาดที่ดี และมีการควบคุมผลกระทบให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน การวิเคราะห์เชิงสถิติของข้อมูลดิบผลตรวจวัดในการปฏิบัติงานจริงภาคสนาม โดยวิธีถดถอยเชิงเส้นกับวิธีหาค่าความน่าจะเป็นเพื่อหาระดับขั้นของเกณฑ์ความเสียหาย มีค่าตัวเลขผลลัพธ์ที่เชื่อถือได้ว่า เมื่อเปรียบเทียบตัวแปรของงานระเบิดหินที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชน การปฏิบัติงานระเบิดหินในประเทศมีความเสี่ยงต่ำที่จะก่อให้เกิดความเสียหาย |
author2 |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาวิศวกรรมเหมืองแร่และปิโตรเลียม |
author_facet |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาวิศวกรรมเหมืองแร่และปิโตรเลียม สง่า ตั้งชวาล |
format |
Technical Report |
author |
สง่า ตั้งชวาล |
author_sort |
สง่า ตั้งชวาล |
title |
ความน่าเชื่อถือในการออกแบบระเบิดหิน และควบคุมผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม : รายงานฉบับสมบูรณ์ |
title_short |
ความน่าเชื่อถือในการออกแบบระเบิดหิน และควบคุมผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม : รายงานฉบับสมบูรณ์ |
title_full |
ความน่าเชื่อถือในการออกแบบระเบิดหิน และควบคุมผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม : รายงานฉบับสมบูรณ์ |
title_fullStr |
ความน่าเชื่อถือในการออกแบบระเบิดหิน และควบคุมผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม : รายงานฉบับสมบูรณ์ |
title_full_unstemmed |
ความน่าเชื่อถือในการออกแบบระเบิดหิน และควบคุมผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม : รายงานฉบับสมบูรณ์ |
title_sort |
ความน่าเชื่อถือในการออกแบบระเบิดหิน และควบคุมผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม : รายงานฉบับสมบูรณ์ |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2006 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2242 |
_version_ |
1681412474894548992 |