เครื่องจ่ายไฟตรง 0-500 V, 10 A : รายงาน
เครื่องจ่ายไฟตรงขนาด 5 kw ที่สร้างขึ้นจะเป็นแบบที่ไม่มีวงจรคงค่าแรงดัน แรงดันออกของเครื่องจ่ายไฟตรงนี้สามารถปรับได้ระหว่าง 0 ถึง 500 โวลท์ โดยการแปรค่าแรงดันของไฟฟ้ากระแสสลับด้านขาเข้า เครื่องจ่ายไฟตรงจะให้กระแสออกสูงสุดได้ 10 แอมแปร์ วงจรดัดไปที่ใช้เป็นวงจรดันไฟ 2 เฟส แบบบริดจ์ วงจรดัดไปแบบนี้จะทำใ...
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Technical Report |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2006
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2249 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.2249 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cuir.22492008-01-02T08:58:43Z เครื่องจ่ายไฟตรง 0-500 V, 10 A : รายงาน DC power supply 0-500 v. 10 A. ยุทธนา กุลวิทิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า การส่งกำลังไฟฟ้า--กระแสตรง เครื่องมือเครื่องใช้ไฟฟ้า เครื่องจ่ายไฟตรงขนาด 5 kw ที่สร้างขึ้นจะเป็นแบบที่ไม่มีวงจรคงค่าแรงดัน แรงดันออกของเครื่องจ่ายไฟตรงนี้สามารถปรับได้ระหว่าง 0 ถึง 500 โวลท์ โดยการแปรค่าแรงดันของไฟฟ้ากระแสสลับด้านขาเข้า เครื่องจ่ายไฟตรงจะให้กระแสออกสูงสุดได้ 10 แอมแปร์ วงจรดัดไปที่ใช้เป็นวงจรดันไฟ 2 เฟส แบบบริดจ์ วงจรดัดไปแบบนี้จะทำให้ตัวประกอบของประสิทธิภาพในการใช้หม้อแปลงมีค่าสูงถึง 0.955 สำหรับวงจรกรองด้านขาออกเป็นวงจรกรองผ่านต่ำแบบ LC ซึ่งมีความถี่หักมุมเท่ากับ 40 Hz การกระเพื่อมของแรงดันออกมีค่าต่ำกว่า 1 เปอร์เซ็นต์และอัตราการคงค่าแรงดันเท่ากับ 6 เ ปอร์เซ็นต์ ณ แรงดันที่กำหนด การวัดค่ากระแสออกของระบบป้องกันกระแสเกินพิกัด จะเป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งมีการตอบสนองที่เร็วกว่า Thermal overlaod relay ซึ่งมีสำรองไว้ กรณีที่วงจรอิเล็กทรอนิกส์เกิดขัดข้อง นอกจากวงจรป้องกันกระแสเกินพิกัดแล้ว เครื่องจ่ายไฟตรงที่สร้างขึ้น ยังมีวงจรป้องกันอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นเมื่อเฟสใดเฟสหนึ่งของไฟฟ้ากระแสสลับด้านขาเข้าเกิดขัดข้อง An unregulated Dc power supply with an output power of 5 kw had been build. Its output voltage can be varied between 0 and 500 Volts by varying the input AC voltage. The maximum output current rating is 10 amperes. The three phases bridge configuration is used for the rectifier circuit while a low-pass LC filter with a cut-off frequency of 40 Hz is used as an output filter. The three phases bridge configuration gives high transformer utilization factor of 0.955 and the low-pass filter reduces the output voltage ripple to less than 1 percent. The output voltage regulation is 6 percent at the rated output voltage. An electronic circuit is used as a current sensor for the over current protection while a thermal overload relay with a lower response time is used as a back up. The unit is also protected against single phase failure. ทุนอุดหนุนโครงการสิ่งประดิษฐ์ 2006-08-28T02:47:27Z 2006-08-28T02:47:27Z 2529 Technical Report http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2249 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 13005723 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
การส่งกำลังไฟฟ้า--กระแสตรง เครื่องมือเครื่องใช้ไฟฟ้า |
spellingShingle |
การส่งกำลังไฟฟ้า--กระแสตรง เครื่องมือเครื่องใช้ไฟฟ้า ยุทธนา กุลวิทิต เครื่องจ่ายไฟตรง 0-500 V, 10 A : รายงาน |
description |
เครื่องจ่ายไฟตรงขนาด 5 kw ที่สร้างขึ้นจะเป็นแบบที่ไม่มีวงจรคงค่าแรงดัน แรงดันออกของเครื่องจ่ายไฟตรงนี้สามารถปรับได้ระหว่าง 0 ถึง 500 โวลท์ โดยการแปรค่าแรงดันของไฟฟ้ากระแสสลับด้านขาเข้า เครื่องจ่ายไฟตรงจะให้กระแสออกสูงสุดได้ 10 แอมแปร์ วงจรดัดไปที่ใช้เป็นวงจรดันไฟ 2 เฟส แบบบริดจ์ วงจรดัดไปแบบนี้จะทำให้ตัวประกอบของประสิทธิภาพในการใช้หม้อแปลงมีค่าสูงถึง 0.955 สำหรับวงจรกรองด้านขาออกเป็นวงจรกรองผ่านต่ำแบบ LC ซึ่งมีความถี่หักมุมเท่ากับ 40 Hz การกระเพื่อมของแรงดันออกมีค่าต่ำกว่า 1 เปอร์เซ็นต์และอัตราการคงค่าแรงดันเท่ากับ 6 เ ปอร์เซ็นต์ ณ แรงดันที่กำหนด การวัดค่ากระแสออกของระบบป้องกันกระแสเกินพิกัด จะเป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งมีการตอบสนองที่เร็วกว่า Thermal overlaod relay ซึ่งมีสำรองไว้ กรณีที่วงจรอิเล็กทรอนิกส์เกิดขัดข้อง นอกจากวงจรป้องกันกระแสเกินพิกัดแล้ว เครื่องจ่ายไฟตรงที่สร้างขึ้น ยังมีวงจรป้องกันอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นเมื่อเฟสใดเฟสหนึ่งของไฟฟ้ากระแสสลับด้านขาเข้าเกิดขัดข้อง |
author2 |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า |
author_facet |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า ยุทธนา กุลวิทิต |
format |
Technical Report |
author |
ยุทธนา กุลวิทิต |
author_sort |
ยุทธนา กุลวิทิต |
title |
เครื่องจ่ายไฟตรง 0-500 V, 10 A : รายงาน |
title_short |
เครื่องจ่ายไฟตรง 0-500 V, 10 A : รายงาน |
title_full |
เครื่องจ่ายไฟตรง 0-500 V, 10 A : รายงาน |
title_fullStr |
เครื่องจ่ายไฟตรง 0-500 V, 10 A : รายงาน |
title_full_unstemmed |
เครื่องจ่ายไฟตรง 0-500 V, 10 A : รายงาน |
title_sort |
เครื่องจ่ายไฟตรง 0-500 v, 10 a : รายงาน |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2006 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2249 |
_version_ |
1681409362509168640 |