การออกแบบและควบคุมหุ่นยนต์อุตสาหกรรมชนิด 3 ข้อต่อ ที่มีการเคลื่อนที่แบบพิกัดฉาก : รายงานผลการวิจัย

หุ่นยนต์อุตสาหกรรมชนิดสามข้อต่อที่มีการเคลื่อนที่แบบพิกัดฉากนี้ควบคุมด้วยเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ระบบขับเคลื่อนเป็นมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงชนิดแม่เหล็กถาวร ใช้เครื่องขยายกำลังสัญญาณ (Power amplifier) เป็นตัวจ่ายพลังงาน โดยระบบควบคุมการเคลื่อนที่จะเป็นแบบเปิด เครื่องขยายกำลังสัญญาณ (Power amplifier) นั้น...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: วริทธิ์ อึ๊งภากรณ์, วิบูลย์ แสงวีระพันธุ์ศิริ
Other Authors: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล
Format: Technical Report
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2006
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2273
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.2273
record_format dspace
spelling th-cuir.22732008-03-13T13:15:51Z การออกแบบและควบคุมหุ่นยนต์อุตสาหกรรมชนิด 3 ข้อต่อ ที่มีการเคลื่อนที่แบบพิกัดฉาก : รายงานผลการวิจัย Design and control of a three axis cartesian coordinate วริทธิ์ อึ๊งภากรณ์ วิบูลย์ แสงวีระพันธุ์ศิริ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล หุ่นยนต์อุตสาหกรรม หุ่นยนต์อุตสาหกรรมชนิดสามข้อต่อที่มีการเคลื่อนที่แบบพิกัดฉากนี้ควบคุมด้วยเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ระบบขับเคลื่อนเป็นมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงชนิดแม่เหล็กถาวร ใช้เครื่องขยายกำลังสัญญาณ (Power amplifier) เป็นตัวจ่ายพลังงาน โดยระบบควบคุมการเคลื่อนที่จะเป็นแบบเปิด เครื่องขยายกำลังสัญญาณ (Power amplifier) นั้น จะใช้ต่อเป็นแบบควบคุมกระแส (Current amplifier) และแบบควบคุมแรงดัน (Voltage amplifier) จากผลการวิเคราะห์และทดลองเปรียบเทียบระบบควบคุมในแบบที่ใช้เครื่องขยายสัญญาณแบบควบคุมกระแส (Current amplifier) และแบบที่ใช้เครื่องขยายสัญญาณแบบควบคุมแรงดัน (Voltage amplifier) นั้น จะได้ว่าการควบคุมแบบที่ใช้เครื่องขยายสัญญาณแบบควบคุมแรงดัน (Voltage amplifier) นั้นระบบควบคุมจะใช้แบบพี (P. Proportional control) ก็เพียงพอ ทั้งนี้เนื่องจากว่าในวงจรของเครื่องขยายสัญญาณ (amplifier) นั้น ภายในลูปภายใน (Innerloop) จะมีการป้อนสัญญาณวัดความเร็วของการหมุนของมอเตอร์กลับสู่วงจรควบคุมของเครื่องขยายสัญญาณ (amplifier) และถ้าระบบควบคุมใช้เครื่องขยายสัญญาณแบบควบคุมกระแส (Current amplifier) ระบบควบคุมแบบพีดี (PD, Proportional plus Derivative) ก็มีความเหมาะสมเพียงพอ และเนื่องจากแกนที่สามของแขนหุ่นยนต์นี้มีความไม่เป็นเชิงเส้นอยู่อันเนื่องมาจากความเสียดทานและแบ็คแลช (backlash) การจะลดผลกระทบอันเนื่องมาจากความไม่เป็นเชิงเส้น (nonlinerity)นี้ก็อาจทำได้โดยการเพิ่มค่าเกนของสัญญาณป้องกลับ (feedback gain) ของความเร็ว 9Velocity) ในลูปภายใน (innerlop) ของจัวขยายสัญญาณ (amplifier) ให้สูงเพียงพอ A micricomputer is used for controlling the 3-axis cartesian type robot manipulator arm. The actuator system consistes of permanent magnet DC servomotor with power amplifier. The closeloop controller os implemented with both a current amplifier and a voltage amplifier. From the analysis and the experiments, the comparison between the control with the current amplifier and voltage amplifier indicated that proportional control is adequate for the control with voltage amplifier because of the velocity feedback compensation in the innerloop of the amplifier. The proportional plus derivative is adequate for the control with the current amplifier. The nonlinearity effects of the third axis caused by the friction and the backlash in the transmission system can be reduced by using the sufficiently high velocity feedback gain. กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช 2006-08-28T09:46:33Z 2006-08-28T09:46:33Z 2535 Technical Report http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2273 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 16000003 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic หุ่นยนต์อุตสาหกรรม
spellingShingle หุ่นยนต์อุตสาหกรรม
วริทธิ์ อึ๊งภากรณ์
วิบูลย์ แสงวีระพันธุ์ศิริ
การออกแบบและควบคุมหุ่นยนต์อุตสาหกรรมชนิด 3 ข้อต่อ ที่มีการเคลื่อนที่แบบพิกัดฉาก : รายงานผลการวิจัย
description หุ่นยนต์อุตสาหกรรมชนิดสามข้อต่อที่มีการเคลื่อนที่แบบพิกัดฉากนี้ควบคุมด้วยเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ระบบขับเคลื่อนเป็นมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงชนิดแม่เหล็กถาวร ใช้เครื่องขยายกำลังสัญญาณ (Power amplifier) เป็นตัวจ่ายพลังงาน โดยระบบควบคุมการเคลื่อนที่จะเป็นแบบเปิด เครื่องขยายกำลังสัญญาณ (Power amplifier) นั้น จะใช้ต่อเป็นแบบควบคุมกระแส (Current amplifier) และแบบควบคุมแรงดัน (Voltage amplifier) จากผลการวิเคราะห์และทดลองเปรียบเทียบระบบควบคุมในแบบที่ใช้เครื่องขยายสัญญาณแบบควบคุมกระแส (Current amplifier) และแบบที่ใช้เครื่องขยายสัญญาณแบบควบคุมแรงดัน (Voltage amplifier) นั้น จะได้ว่าการควบคุมแบบที่ใช้เครื่องขยายสัญญาณแบบควบคุมแรงดัน (Voltage amplifier) นั้นระบบควบคุมจะใช้แบบพี (P. Proportional control) ก็เพียงพอ ทั้งนี้เนื่องจากว่าในวงจรของเครื่องขยายสัญญาณ (amplifier) นั้น ภายในลูปภายใน (Innerloop) จะมีการป้อนสัญญาณวัดความเร็วของการหมุนของมอเตอร์กลับสู่วงจรควบคุมของเครื่องขยายสัญญาณ (amplifier) และถ้าระบบควบคุมใช้เครื่องขยายสัญญาณแบบควบคุมกระแส (Current amplifier) ระบบควบคุมแบบพีดี (PD, Proportional plus Derivative) ก็มีความเหมาะสมเพียงพอ และเนื่องจากแกนที่สามของแขนหุ่นยนต์นี้มีความไม่เป็นเชิงเส้นอยู่อันเนื่องมาจากความเสียดทานและแบ็คแลช (backlash) การจะลดผลกระทบอันเนื่องมาจากความไม่เป็นเชิงเส้น (nonlinerity)นี้ก็อาจทำได้โดยการเพิ่มค่าเกนของสัญญาณป้องกลับ (feedback gain) ของความเร็ว 9Velocity) ในลูปภายใน (innerlop) ของจัวขยายสัญญาณ (amplifier) ให้สูงเพียงพอ
author2 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล
author_facet จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล
วริทธิ์ อึ๊งภากรณ์
วิบูลย์ แสงวีระพันธุ์ศิริ
format Technical Report
author วริทธิ์ อึ๊งภากรณ์
วิบูลย์ แสงวีระพันธุ์ศิริ
author_sort วริทธิ์ อึ๊งภากรณ์
title การออกแบบและควบคุมหุ่นยนต์อุตสาหกรรมชนิด 3 ข้อต่อ ที่มีการเคลื่อนที่แบบพิกัดฉาก : รายงานผลการวิจัย
title_short การออกแบบและควบคุมหุ่นยนต์อุตสาหกรรมชนิด 3 ข้อต่อ ที่มีการเคลื่อนที่แบบพิกัดฉาก : รายงานผลการวิจัย
title_full การออกแบบและควบคุมหุ่นยนต์อุตสาหกรรมชนิด 3 ข้อต่อ ที่มีการเคลื่อนที่แบบพิกัดฉาก : รายงานผลการวิจัย
title_fullStr การออกแบบและควบคุมหุ่นยนต์อุตสาหกรรมชนิด 3 ข้อต่อ ที่มีการเคลื่อนที่แบบพิกัดฉาก : รายงานผลการวิจัย
title_full_unstemmed การออกแบบและควบคุมหุ่นยนต์อุตสาหกรรมชนิด 3 ข้อต่อ ที่มีการเคลื่อนที่แบบพิกัดฉาก : รายงานผลการวิจัย
title_sort การออกแบบและควบคุมหุ่นยนต์อุตสาหกรรมชนิด 3 ข้อต่อ ที่มีการเคลื่อนที่แบบพิกัดฉาก : รายงานผลการวิจัย
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2006
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2273
_version_ 1681412392847671296