แนวทางพัฒนาการท่องเที่ยวโดยการเดินเท้าในเมืองเชียงใหม่

วิทยานิพนธ์ (ผ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: วิญญา พิชญกานต์, 2517-
Other Authors: วรรณศิลป์ พีรพันธุ์
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2006
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2305
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.2305
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic อุตสาหกรรมท่องเที่ยว่--ไทย--เชียงใหม่
เชียงใหม่--ภูมิประเทศและการท่องเที่ยว
spellingShingle อุตสาหกรรมท่องเที่ยว่--ไทย--เชียงใหม่
เชียงใหม่--ภูมิประเทศและการท่องเที่ยว
วิญญา พิชญกานต์, 2517-
แนวทางพัฒนาการท่องเที่ยวโดยการเดินเท้าในเมืองเชียงใหม่
description วิทยานิพนธ์ (ผ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544
author2 วรรณศิลป์ พีรพันธุ์
author_facet วรรณศิลป์ พีรพันธุ์
วิญญา พิชญกานต์, 2517-
format Theses and Dissertations
author วิญญา พิชญกานต์, 2517-
author_sort วิญญา พิชญกานต์, 2517-
title แนวทางพัฒนาการท่องเที่ยวโดยการเดินเท้าในเมืองเชียงใหม่
title_short แนวทางพัฒนาการท่องเที่ยวโดยการเดินเท้าในเมืองเชียงใหม่
title_full แนวทางพัฒนาการท่องเที่ยวโดยการเดินเท้าในเมืองเชียงใหม่
title_fullStr แนวทางพัฒนาการท่องเที่ยวโดยการเดินเท้าในเมืองเชียงใหม่
title_full_unstemmed แนวทางพัฒนาการท่องเที่ยวโดยการเดินเท้าในเมืองเชียงใหม่
title_sort แนวทางพัฒนาการท่องเที่ยวโดยการเดินเท้าในเมืองเชียงใหม่
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2006
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2305
_version_ 1681411843328835584
spelling th-cuir.23052008-03-03T01:14:55Z แนวทางพัฒนาการท่องเที่ยวโดยการเดินเท้าในเมืองเชียงใหม่ Development guidelines for walking based tourism in Chiang Mai City วิญญา พิชญกานต์, 2517- วรรณศิลป์ พีรพันธุ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ อุตสาหกรรมท่องเที่ยว่--ไทย--เชียงใหม่ เชียงใหม่--ภูมิประเทศและการท่องเที่ยว วิทยานิพนธ์ (ผ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ตลาด และลักษณะของการท่องเที่ยวในเมืองเชียงใหม่ ปัจจัยที่เป็นศักยภาพและข้อจำกัดต่อการพัฒนาการท่องเที่ยวโดยการเดินเท้าในเมืองเชียงใหม่ และเพื่อเสนอแนะแนวทางและมาตรการในการจัดเส้นทางและรูปแบบการท่องเที่ยวโดยการเดินเท้าที่เมาะสมในเมืองเชียงใหม่ ผลการศึกษาพบว่าเมืองเชียงใหม่ประกอบไปด้วยแหล่งท่องเที่ยวหลายประเภท ได้แก่ แหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ สถาปัตยกรรม ประเพณีและวัฒนธรรม วิถีชีวิตของผู้คน และยังเป็นศูนย์รวมของที่ระลึก สถานที่ท่องเที่ยวแต่ละแห่งตั้งอยู่ไม่ไกลกันมากนัก สามารถเดินเชื่อมถึงกันได้สะดวก ปัจจุบันการท่องเที่ยวโดยการเดินเท้าเป็นวิธีการท่องเที่ยวแบบหนึ่งในเมืองเชียงใหม่ ซึ่งเป็นที่นิยมในกลุ่มนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ เนื่องจากสะดวกและใกล้แหล่งที่พัก จากการศึกษาองค์ประกอบของการท่องเที่ยวโดยการเดินเท้าในเมืองเชียงใหม่ พบว่านอกจากองค์ประกอบด้านแหล่งท่องเที่ยว สิ่งอำนวยสะดวก บริการ และกิจกรรมที่น่าสนใจในเมืองแล้ว องค์ประกอบที่ควรให้ความสำคัญเพื่อสร้างให้เมืองเชียงใหม่มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการท่องเที่ยวโดยการเดินเท้ายังประกอบด้วย การจัดระเบียบการจราจร ทางเท้า การใช้ประโยชน์ที่ดินในเมือง แหล่งท่องเที่ยว กิจกรรมบริการ สภาพแวดล้อม รวมถึงสังคมและชุมชน ซึ่งต้องมีมาตรการพัฒนาและควบคุมให้เหมาะสม ในการศึกษาครั้งนี้ได้เสนอแนะเส้นทางท่องเที่ยวโดยการเดินเท้าในเมืองเชียงใหม่ 5 เส้นทาง โดยเน้นการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมและวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนได้แก่ เส้นทางชมสถาปัตยกรรมและโบราณสถาน เส้นทางชมวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนในเมือง เส้นทางชมและจับจ่ายซื้อสินค้าของที่ระลึก และเส้นทางชมชุมชน 2 เส้นทาง แนวแกนหลักด้านการท่องเที่ยวของเมืองคือ แนวถนนท่าแพต่อเนื่องถึงถนนราชดำเนิน ซึ่งเป็นศูนย์กลางกิจกรรมของเมืองและเป็นที่ตั้งของแหล่งท่องเที่ยวและสถานที่สำคัญต่างๆ และถนนช้างคลาน ซึ่งเป็นย่านบริการและจับจ่ายซื้อสินค้าของที่ระลึกของนักท่องเที่ยว แนวถนนดังกล่าวมีศักยภาพในการจัดกิจกรรมถนนคนเดินเพื่อการท่องเที่ยวและส่งเสริมให้เกิดกิจกรรมความร่วมมือของประชาชนในเมือง โดยควรเปลี่ยนแปลงระบบการจราจรเดิมบางส่วน และจำกัดการใช้ยานพาหนะในเมือง รวมทั้งปรับปรุงทางเท้าให้สะดวก ปลอดภัย และสวยงาม เหมาะสมกับวัฒนธรรมการสัญจรในเมือง ทั้งนี้ในการดำเนินการจะต้องอาศัยความร่วมมือจากหน่วยงานที่มีส่วนเกี่ยวข้องและประชาชนในเมืองเชียงใหม่ The objectives of this thesis are to study tourism market and patterns in Chiang Mai City as well as the factors that are potentials and obstacles to the development of walking based tourism and to propose guidelines and measures for suitable routes and patterns of walking based tourism in the area. The study reveals that there are several types of tourist attractions in Chiang Mai City. They include historic sites, architecture, cultural attractions, traditional way of life, and souvenir shopping centers. These tourist attractions are located near each other, allowing tourists to walk from one attraction to another. Walking based tourism is currently popular for certain groups of foreign tourists. Apart from tourist attractions, facilities, services, and interesting activities, there are severe factors that should be developed or controlled to make the city environment more suitable for walking based tourism. Those that should be controlled include traffic, footpath usage, land-use, attraction development,and activities. Those that should be managed include environment, society, and community. Five walking based tourism routes are proposed focusing on local culture and traditional way of life. They includes the routes for seeing architecture and historic sites, traditional way of life, shopping, and community visits ( 2 routes ). One major tourism axis is from Ta Pae Road to Ratchadamnuen Road which is the center of tourist activities and attractions. The other axis is Chang Klan Road which is the center of tourism facilities and souvenir shops. These two axes have potential for walking based tourism development and promoting local activities. The control measures proposed here include minor change in traffic management. car restrictions in some areas. and pedestrian route improvement to provide more convenient, safety, and beautiful environment. All these proposals need supports from local authority and local people. 2006-08-31T09:51:13Z 2006-08-31T09:51:13Z 2544 Thesis 9741704623 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2305 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 15270448 bytes application/pdf application/pdf ไทย (ภาคเหนือ) เชียงใหม่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย