พฤติกรรมการใช้สวนสาธารณะที่เป็นผลจากสภาพแวดล้อมทางภูมิทัศน์ของสวนในเขตเทศบาลนครขอนแก่น
วิทยานิพนธ์ (ภ.สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2012
|
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23306 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.23306 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Chulalongkorn University Library |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
description |
วิทยานิพนธ์ (ภ.สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 |
author2 |
นิลุบล คล่องเวสสะ |
author_facet |
นิลุบล คล่องเวสสะ นิธิวดี ทองป้อง |
format |
Theses and Dissertations |
author |
นิธิวดี ทองป้อง |
spellingShingle |
นิธิวดี ทองป้อง พฤติกรรมการใช้สวนสาธารณะที่เป็นผลจากสภาพแวดล้อมทางภูมิทัศน์ของสวนในเขตเทศบาลนครขอนแก่น |
author_sort |
นิธิวดี ทองป้อง |
title |
พฤติกรรมการใช้สวนสาธารณะที่เป็นผลจากสภาพแวดล้อมทางภูมิทัศน์ของสวนในเขตเทศบาลนครขอนแก่น |
title_short |
พฤติกรรมการใช้สวนสาธารณะที่เป็นผลจากสภาพแวดล้อมทางภูมิทัศน์ของสวนในเขตเทศบาลนครขอนแก่น |
title_full |
พฤติกรรมการใช้สวนสาธารณะที่เป็นผลจากสภาพแวดล้อมทางภูมิทัศน์ของสวนในเขตเทศบาลนครขอนแก่น |
title_fullStr |
พฤติกรรมการใช้สวนสาธารณะที่เป็นผลจากสภาพแวดล้อมทางภูมิทัศน์ของสวนในเขตเทศบาลนครขอนแก่น |
title_full_unstemmed |
พฤติกรรมการใช้สวนสาธารณะที่เป็นผลจากสภาพแวดล้อมทางภูมิทัศน์ของสวนในเขตเทศบาลนครขอนแก่น |
title_sort |
พฤติกรรมการใช้สวนสาธารณะที่เป็นผลจากสภาพแวดล้อมทางภูมิทัศน์ของสวนในเขตเทศบาลนครขอนแก่น |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2012 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23306 |
_version_ |
1724629847919034368 |
spelling |
th-cuir.233062019-03-08T06:25:24Z พฤติกรรมการใช้สวนสาธารณะที่เป็นผลจากสภาพแวดล้อมทางภูมิทัศน์ของสวนในเขตเทศบาลนครขอนแก่น Park-use behavior affected by landscape environment of urban parks in khon kaen municipality นิธิวดี ทองป้อง นิลุบล คล่องเวสสะ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ วิทยานิพนธ์ (ภ.สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 งานวิทยานิพนธ์นี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจที่มีจุดหมายเพื่อศึกษาปัจจัยทางการภาพที่มีผลต่อการใช้-ไม่ใช้สวน และลักษณะกายภาพของพื้นที่ที่มีการใช้งานหรือไม่มีการใช้ โดยใช้สวนบึงแก่นนคร, สวนรัชดานุสรณ์ และสวนประตูเมืองเป็นพื้นที่ในการศึกษา ผลที่ได้จะนำมาเป็นแนวทางในการออกแบบสวนสาธารณะที่มีความเหมาะสมต่อความต้องการของผู้ใช้สวน การศึกษานี้มีวิธีการเก็บข้อมูล 2 วิธีคือ การสังเกตการณ์และการแจกแบบสอบถาม ซึ่งใช้ข้อมูลที่ได้จากการสังเกตการณ์เป็นหลัก การสังเกตการณ์จะทำการสำรวจบันทึกกิจกรรมลงไปในผังของสวนแต่ละแห่ง โดยระบุกิจกรรม ตำแหน่งที่ทำกิจกรรม และลักษณะของผู้ใช้สวน เช่น วัย, เพศ ส่วนการแจกแบบสอบถามจะใช้แบบสอบถามสำหรับผู้ใช้สวนแห่งละ 100 ชุด และผู้ไม่ใช้สวนในรอบ 1 ปีที่อยู่ในเขตรัศมีบริการอีก 100 ชุด ผลการศึกษาพบว่า ลักษณะพื้นที่ในการกระจายตัวเพื่อทำกิจกรรม พบลักษณะต่างๆ เช่น พื้นที่ที่มีการใช้ตลอดเวลา กิจกรรมที่เกิดขึ้นในพื้นที่นี้มักเป็นกิจกรรมแบบผ่อนคลาย (Passive Recreation), พื้นที่ที่มีการใช้เฉพาะช่วงเวลา กิจกรรมที่เกิดขึ้นมักเป็นกิจกรรมเฉพาะ เช่น เต้นแอโรบิก, พื้นที่ที่มีการเข้าไปใช้น้อย หรือไม่มีการใช้เลย ลักษณะพื้นที่มักเป็นบริเวณที่ผู้ใช้รู้สึกไม่ปลอดภัย ทรุดโทรม ไม่สะอาด แสงสว่างน้อย ส่วนปัจจัยทางกายภาพที่มีผลต่อการใช้พื้นที่สวน ได้แก่ สภาพภูมิอากาศ การดูแลรักษา ความร่มรื่นของบรรยากาศ และผู้ร่วมใช้สวน และพบว่าปัจจัยสำคัญอื่นๆ ที่มีผลต่อการใช้-ไม่ใช้สวนสาธารณะ ได้แก่ การเดินทางไม่สะดวก, ไม่มีกิจกรรมที่น่าสนใจ, สวนไม่สวนไม่น่าใช้, ภาพพจน์ที่ไม่ดีของสวน, ความแออัดของสวน จากการศึกษาพบข้อสังเกตว่า พฤติกรรมการใช้ – ไม่ใช้สวนสาธารณะของคนในเขตเทศบาลนครขอนแก่นมีผลมาจากสภาพแวดล้อมทางภูมิทัศน์ของพื้นที่สวนสาธารณะ ซึ่งควรมีการคำนึงถึงปัจจัยทางกายภาพที่มีผลต่อผู้ใช้สวนส่วนใหญ่ เพื่อให้พื้นที่สวนมีการใช้งานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ This thesis is a survey research, which has the purpose to study the physical conditions affected using - not using urban parks and the physical characteristics of the park areas. The study areas were the Kaennakorn Park, Ratchadanusorn Park and Pratu Muang Park. The results of this study will be the guideline in designing urban parks to well suit its users. Regarding the data collection, this study is based on observation and piloting questionnaires. The main method is the observation. Recording activities on each park's plan did the observation; identify activities, locations and users characteristics; gender and age. For piloting questionna ires, there were 100 questionnaires for users in each park and another 100 questionnaires for non-user in the service radius area. The study obtained that the dispersion of activity is various. Some area was used regularly for passive recreation and some area was used in specific time for specific activity such as aerobics. There was also some area that contained only a few users because they feel the park was unsafe, worn -out, dirty or not enough light. As for the physical conditions that affect user behavior in using parks are weather, maintenance, shady atmosphere and the other users. Moreover, it found that the main conditions of using - not using parks are inconvenience of accessibility, the park has no interesting activity, has no beauty, has bad image and very crowded. Consequently, the study notices that the landscape environment of the parks causes the park-use behavior of urban parks in Khon Kaen municipality. Therefore, the landscape environment design for users in urban parks should primarily consider physical conditions that affect the most users as for the effective utilization. 2012-11-07T09:14:59Z 2012-11-07T09:14:59Z 2546 Thesis 9741752648 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23306 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 4094216 bytes 2260141 bytes 6684679 bytes 2312177 bytes 25176416 bytes 11906943 bytes 5682892 bytes 1945187 bytes application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |