แนวทางการออกแบบสถาปัตยกรรมสำหรับประดิษฐานรอยพระพุทธบาทจำลอง : กรณีศึกษา เขาพระจุลจอมเกล้า เกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี

วิทยานิพนธ์ (สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: สมโชค สินนุกูล, 2521-
Other Authors: ไขแสง ศุขะวัฒนะ
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2006
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2332
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.2332
record_format dspace
spelling th-cuir.23322008-02-09T06:03:00Z แนวทางการออกแบบสถาปัตยกรรมสำหรับประดิษฐานรอยพระพุทธบาทจำลอง : กรณีศึกษา เขาพระจุลจอมเกล้า เกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี Design guidelines for the shrine of the Buddha's Footprint : a case study of Chulachomklao Hill, Sichang Island, Chonburi province สมโชค สินนุกูล, 2521- ไขแสง ศุขะวัฒนะ ภิญโญ สุวรรณคีรี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ รอยพระพุทธบาท สถาปัตยกรรมพุทธศาสนา สถาปัตยกรรมพุทธศาสนา--ไทย--เกาะสีชัง (ชลบุรี) วิทยานิพนธ์ (สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 ศึกษาความเป็นมาของ รูปแบบ องค์ประกอบ ตลอดจนแนวความคิด และปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสถาปัตยกรรมสำหรับประดิษฐานรอยพระพุทธบาทจำลอง เพื่อเป็นความรู้และเป็นแนวทางในการอนุรักษ์หรือการออกแบบสถาปัตยกรรม สำหรับประดิษฐานรอยพระพุทธบาทจำลองต่อไป โดยได้ศึกษาสถาปัตยกรรมประเภทสถาปัตยกรรมไทย ซึ่งมีอายุในสมัยอยุธยาและสมัยรัตนโกสินทร์ ที่ตั้งอยู่บริเวณภาคกลางตอนล่าง ได้แก่ กรุงเทพมหานครและจังหวัดใกล้เคียง โดยศึกษาข้อมูลทั้งในภาคเอกสารและภาคสนาม ด้วยการสำรวจรังวัด บันทึกภาพถ่ายและการสัมภาษณ์ สถาปัตยกรรมสำหรับประดิษฐานรอยพระพุทธบาทจำลอง สามารถศึกษาจำแนกได้เป็น 2 ประเภทคือ จำแนกตามประเภทอาคาร ได้แก่ สถาปัตยกรรมประเภท ศาลา พระสถูป พระวิหารและพระมณฑป และจำแนกตามประเภทของรอยพระพุทธบาท ได้แก่ สถาปัตยกรรมสำหรับประดิษฐานรอยพระพุทธบาทที่จัดเป็นบริโภคเจดีย์ บริโภคเจดีย์จำลอง และอุเทสิกะเจดีย์ สถาปัตยกรรมสำหรับประดิษฐานรอยพระพุทธบาททุกประเภท ล้วนมีแนวความคิดมุ่งหมายเพื่อเป็นที่สำหรับประดิษฐานปูชนียวัตถุเท่านั้น ในลักษณะของพระวิหารหรือพระคันธกุฎีของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า หาได้มีการใช้พื้นที่เพื่อประกอบกิจกรรมอื่นใดไม่ สถาปัตยกรรมสำหรับประดิษฐานรอยพระพุทธบาท จึงมักมีผังพื้นและขนาดที่มีความกระชับพอดีกับสถาปัตยกรรม นอกจากลักษณะดังกล่าวแล้ว สถาปัตยกรรมสำหรับประดิษฐานรอยพระพุทธบาทยังประกอบไปด้วยองค์ประกอบต่างๆ และการประดับตกแต่งเพื่อเป็นสัญลักษณ์ที่ใช้สื่อความหมายอันเป็นผลมาจากคติความเชื่อ วัฒนธรรมและประเพณี ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของสถาปัตยกรรมไทยประเภทนี้ จากการศึกษาเรื่องสถาปัตยกรรมสำหรับประดิษฐานรอยพระพุทธบาทจำลอง ได้นำผลจากการศึกษามาเป็นแนวทางในการออกแบบสถาปัตยกรรมซึ่งเป็นกรณีศึกษา ได้แก่ สถาปัตยกรรมสำหรับประดิษฐานรอยพระพุทธบาทจำลองเขาพระจุลจอมเกล้า เกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี To survey the patterns, components, ideas and factors influencing the architectural design of the shrine of the Buddha's footprint. The knowledge in turn serves as guidelines for the study and conservation of the architecture of this type. The study of Thai architecture of the Ayuthaya and Rattanakosin Periods was made in Bangkok and the surrounding provinces. The methods used were the study of written documents and field work including survey, measurement, photography and interviews. The architectural study for the shrine of the Buddha's Footprint can be categorized into two types: structures and purposes. Regarding structures, they can be labelled as the pavillion, relic mound, monastery and square spired pavillion. The construction of the Buddha's Footprint can serve the purposes as 1) a monument of the Buddha's utility, 2) an imitation of the item in 1), and 3) a memorial of worship with Buddhist symbolism. This type of architecture has no other purposes than those mentioned. Therefore, it is compact and suitable for the dimensions of the Buddha's Footprint. In addition, the architecture is normally adorned with symbols reflecting the beliefs, traditions and cultures of people, which are typical of this variety of Thai architecture. The insight from the study serves as a guideline in designing the architecture in the case study which is the shrine of the imitating Buddha's Footprint o Chulachomklao Hill, Sichang Island, Chonburi Province. 2006-09-05T03:02:47Z 2006-09-05T03:02:47Z 2546 Thesis 9741749473 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2332 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 78865716 bytes application/pdf application/pdf ไทย (ภาคตะวันออก) ชลบุรี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic รอยพระพุทธบาท
สถาปัตยกรรมพุทธศาสนา
สถาปัตยกรรมพุทธศาสนา--ไทย--เกาะสีชัง (ชลบุรี)
spellingShingle รอยพระพุทธบาท
สถาปัตยกรรมพุทธศาสนา
สถาปัตยกรรมพุทธศาสนา--ไทย--เกาะสีชัง (ชลบุรี)
สมโชค สินนุกูล, 2521-
แนวทางการออกแบบสถาปัตยกรรมสำหรับประดิษฐานรอยพระพุทธบาทจำลอง : กรณีศึกษา เขาพระจุลจอมเกล้า เกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี
description วิทยานิพนธ์ (สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546
author2 ไขแสง ศุขะวัฒนะ
author_facet ไขแสง ศุขะวัฒนะ
สมโชค สินนุกูล, 2521-
format Theses and Dissertations
author สมโชค สินนุกูล, 2521-
author_sort สมโชค สินนุกูล, 2521-
title แนวทางการออกแบบสถาปัตยกรรมสำหรับประดิษฐานรอยพระพุทธบาทจำลอง : กรณีศึกษา เขาพระจุลจอมเกล้า เกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี
title_short แนวทางการออกแบบสถาปัตยกรรมสำหรับประดิษฐานรอยพระพุทธบาทจำลอง : กรณีศึกษา เขาพระจุลจอมเกล้า เกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี
title_full แนวทางการออกแบบสถาปัตยกรรมสำหรับประดิษฐานรอยพระพุทธบาทจำลอง : กรณีศึกษา เขาพระจุลจอมเกล้า เกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี
title_fullStr แนวทางการออกแบบสถาปัตยกรรมสำหรับประดิษฐานรอยพระพุทธบาทจำลอง : กรณีศึกษา เขาพระจุลจอมเกล้า เกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี
title_full_unstemmed แนวทางการออกแบบสถาปัตยกรรมสำหรับประดิษฐานรอยพระพุทธบาทจำลอง : กรณีศึกษา เขาพระจุลจอมเกล้า เกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี
title_sort แนวทางการออกแบบสถาปัตยกรรมสำหรับประดิษฐานรอยพระพุทธบาทจำลอง : กรณีศึกษา เขาพระจุลจอมเกล้า เกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2006
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2332
_version_ 1681409077881602048