การศึกษาพระเจดีย์ซึ่งมีพื้นที่ใช้สอยภายในสมัยรัตนโกสินทร์เพื่อการออกแบบพระมหาธาตุเจดีย์ป่าสักชลสิทธิ์ จังหวัดลพบุรี
วิทยานิพนธ์ (สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2006
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2358 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.2358 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
เจดีย์--ไทย--การออกแบบ พระมหาธาตุเจดีย์ป่าสักชลสิทธิ์ สถาปัตยกรรมกับศาสนา |
spellingShingle |
เจดีย์--ไทย--การออกแบบ พระมหาธาตุเจดีย์ป่าสักชลสิทธิ์ สถาปัตยกรรมกับศาสนา นภัส ขวัญเมือง, 2521- การศึกษาพระเจดีย์ซึ่งมีพื้นที่ใช้สอยภายในสมัยรัตนโกสินทร์เพื่อการออกแบบพระมหาธาตุเจดีย์ป่าสักชลสิทธิ์ จังหวัดลพบุรี |
description |
วิทยานิพนธ์ (สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 |
author2 |
ภิญโญ สุวรรณคีรี |
author_facet |
ภิญโญ สุวรรณคีรี นภัส ขวัญเมือง, 2521- |
format |
Theses and Dissertations |
author |
นภัส ขวัญเมือง, 2521- |
author_sort |
นภัส ขวัญเมือง, 2521- |
title |
การศึกษาพระเจดีย์ซึ่งมีพื้นที่ใช้สอยภายในสมัยรัตนโกสินทร์เพื่อการออกแบบพระมหาธาตุเจดีย์ป่าสักชลสิทธิ์ จังหวัดลพบุรี |
title_short |
การศึกษาพระเจดีย์ซึ่งมีพื้นที่ใช้สอยภายในสมัยรัตนโกสินทร์เพื่อการออกแบบพระมหาธาตุเจดีย์ป่าสักชลสิทธิ์ จังหวัดลพบุรี |
title_full |
การศึกษาพระเจดีย์ซึ่งมีพื้นที่ใช้สอยภายในสมัยรัตนโกสินทร์เพื่อการออกแบบพระมหาธาตุเจดีย์ป่าสักชลสิทธิ์ จังหวัดลพบุรี |
title_fullStr |
การศึกษาพระเจดีย์ซึ่งมีพื้นที่ใช้สอยภายในสมัยรัตนโกสินทร์เพื่อการออกแบบพระมหาธาตุเจดีย์ป่าสักชลสิทธิ์ จังหวัดลพบุรี |
title_full_unstemmed |
การศึกษาพระเจดีย์ซึ่งมีพื้นที่ใช้สอยภายในสมัยรัตนโกสินทร์เพื่อการออกแบบพระมหาธาตุเจดีย์ป่าสักชลสิทธิ์ จังหวัดลพบุรี |
title_sort |
การศึกษาพระเจดีย์ซึ่งมีพื้นที่ใช้สอยภายในสมัยรัตนโกสินทร์เพื่อการออกแบบพระมหาธาตุเจดีย์ป่าสักชลสิทธิ์ จังหวัดลพบุรี |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2006 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2358 |
_version_ |
1681411330835218432 |
spelling |
th-cuir.23582007-12-20T02:03:54Z การศึกษาพระเจดีย์ซึ่งมีพื้นที่ใช้สอยภายในสมัยรัตนโกสินทร์เพื่อการออกแบบพระมหาธาตุเจดีย์ป่าสักชลสิทธิ์ จังหวัดลพบุรี Study on useable interior of a chedi in Rattanakosin period to design Phramahathatchedi Pasak Jolasid, Lop Buri Province นภัส ขวัญเมือง, 2521- ภิญโญ สุวรรณคีรี แน่งน้อย ศักดิ์ศรี, ม.ร.ว. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ เจดีย์--ไทย--การออกแบบ พระมหาธาตุเจดีย์ป่าสักชลสิทธิ์ สถาปัตยกรรมกับศาสนา วิทยานิพนธ์ (สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 วัตถุประสงค์ในการวิจัยเพื่อนำผลที่ได้ไปใช้ในการออกแบบพระมหาธาตุเจดีย์ป่าสักชลสิทธิ์ การวิจัยนี้ศึกษาเฉพาะพระเจดีย์ที่เข้าไปใช้สอยพื้นที่ภายในได้ และสร้างในสมัยรัตนโกสินทร์ตั้งแต่ พ.ศ. 2325-2546 โดยแบ่งการศึกษาออกเป็นสองส่วนคือ พระเจดีย์ในยุคต้น ซึ่งไม่ได้สร้างด้วยโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก และพระเจดีย์ในยุคหลัง ซึ่งสร้างด้วยโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก ข้อมูลที่ได้นำมาพิจารณาแยกเป็นหัวข้อดังนี้คือ มูลเหตุการสร้างและประวัติความเป็นมา ที่ตั้งของพระเจดีย์ รูปแบบสถาปัตยกรรม การใช้พื้นที่ภายใน การประดับตกแต่ง สัดส่วนและเส้นจอมแหในรูปทรงของพระเจดีย์ การระบายอากาศ การนำแสงสว่างเข้าสู่ภายในพระเจดีย์ และโครงสร้าง จากการศึกษาพระเจดีย์ในยุคต้นพบว่า เป็นการสร้างโดยพระราชประสงค์ของพระมหากษัตริย์ บรมวงศานุวงศ์และเสนาบดี เพื่อพระพุทธศาสนาเป็นสำคัญ ตำแหน่งพระเจดีย์มักเรียงอยู่ในแนวแกนทางนอนเดียวกันกับพระอุโบสถและพระวิหาร รูปแบบสถาปัตยกรรมเริ่มนิยมพระเจดีย์ทรงระฆังในสมัยรัชกาลที่ 4 โดยมักจะเน้นให้พระเจดีย์ประธานมีขนาดใหญ่ การตกแต่งขึ้นอยู่กับความนิยมศิลปะในช่วงนั้น พื้นที่ภายในมักถูกใช้ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุหรือพระพุทธรูปซึ่งมักอยู่ในตำแหน่งศูนย์กลางพื้นที่ โครงสร้างแบบผนังรับน้ำหนักทำให้เจาะช่องเปิดได้ไม่สะดวก จึงมีผลต่อการระบายอากาศ การนำแสงสว่างเข้าสู่ภายในพระเจดีย์ และการประดับตกแต่งภายใน พระเจดีย์ในยุคหลังเป็นการร่วมกันสร้างของประชาชนโดยผนวกการระลึกถึงบุคคลเข้าไปด้วย ตำแหน่งของพระเจดีย์ที่ต่างจากยุคต้นคือ พระเจดีย์อยู่เหนือพระอุโบสถหรือพระวิหารในแนวแกนทางตั้ง ในยุคนี้นิยมสร้างพระเจดีย์ทรงระฆังและให้ความสำคัญกับองค์ประกอบในส่วนฐานมากกว่ายุคต้น โดยรูปแบบสถาปัตยกรรมและการตกแต่งนั้นมีผลมากจากสถาปนิกซึ่งจบการศึกษาสถาปัตยกรรมโดยตรง สื่อสัญลักษณ์จะแสดงในรูปพระปรมาภิไธยย่อ หรือพระพุทธรูปประจำวันพระราชสมภพ ตลอดจนตราสัญลักษณ์ที่ใช้ในพระราชพิธี ซึ่งพระเจดีย์ได้ถูกสร้างขึ้นเพื่อเฉลิมฉลองในวโรกาสนั้นๆ นอกจากนี้พระเจดีย์ในยุคนี้ยังมีการใช้พื้นที่ในส่วนฐานมาก ประกอบกับการใช้ระบบโครงสร้างแบบระบบพิกัด (Modular System) ซึ่งช่วยในการออกแบบพระเจดีย์ที่มีขนาดใหญ่ ผลที่ได้จากการศึกษาที่กล่าวไปข้างต้นนำมาประมวลกับผลการศึกษารุปแบบสถาปัตยกรรมในพื้นที่ที่ตั้งพระเจดีย์ผนวกกับการศึกษาพระราชพิธีบรมราชาภิเษกและพระราชประวัติแล้วทำการออกแบบพระมหาธาตุเจดีย์ป่าสักชลสิทธิ์ โดยภายในประดิษฐานเจดีย์บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ และพระพุทธรูปที่เกี่ยวข้องกับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ประกอบกับจัดแสดงกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงครองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี ส่วนรูปแบบสถาปัตยกรรมใช้ศิลปะลพบุรีในภาพรวมเพื่อแสดงเอกลักษณ์ของพื้นที่ และใช้พระเจดีย์ทรงระฆังแสดงเอกลักษณ์ในสมัยรัตนโกสินทร์ The purpose of this study was to apply the findings to the design of Phramahathatchedi Pasakchonlasit. This study focused on the useable interior of chedis, or stupas, in the Rattanakosin period (1782-2003) and was divided into 2 parts: chedis built in the early period and those built in the later period. The former were not built with reinforced concrete while the latter were. The data obtained was categorized into the following: background, site, architectural design, useable interior, decoration, proportion and structure, ventilation, and interior lighting. It was found that the early chedis were built in response to a royal command of the king, and his relatives or high-rank officials to pay homage to the Lord Buddha. The chedis were located on a horizontal axis with the ubosot, chapel, and the viharn, ordination hall, built in a bell shape since the reign of King Rama IV. The principle chedis were normally bigger and decoration varied according to the trend of that time. The chedis usually housed a relic or image of the Lord Buddha in the center. Since it was difficult to leave openings in the wall, ventilation and incoming light were poor, and the interior decoration was difficult to do. The chedis in the later period were built by local people to pay respect to their dead relatives. The chedis were located north of the ubosot or viharn and were built in a bell shape with a more elaborate base. Their architecture and decoration were often the work of architecture students. Symbols included the initials of the kings or an image of Lord Buddha designated for the birthdate of certain kings as well as the images indicating the celebration of the chedi construction. A base area of the chedis during this period was used more than that in the early period. The chedis in this latter period were also built using a modular system, as a result, they were bigger than those of the early period. The results of the above mentioned study, including results from architecture at the site of the chedis, the coronation ceremony and H.M. King Bumiphol Adulyadej's autobiography, were used to design Phramahathatchedi Pasakchonlasit, which houses a smaller chedi holding Buddha relics and images related to the King. There are also paintings commemorating the golden jubilee of H.M the King's ascension to the throne. The architecture of this chedi is Lopburi style and shows the uniqueness of the area. It is built in a bell shape, which is one of the most distinctive features of chedis from the Rattanakosin period. 2006-09-06T01:00:23Z 2006-09-06T01:00:23Z 2547 Thesis 9741766882 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2358 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 46255915 bytes application/pdf application/pdf ไทย (ภาคกลาง) ลพบุรี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |