การวิเคราะห์ความสัมพันธ์แบบถดถอยเชิงเส้นระหว่างค่าบีโอดีและซีโอดีของน้ำชะมูลฝอยชุมชนกับองค์ประกอบทางกายภาพของมูลฝอยชุมชนและสภาพแวดล้อม
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2547
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2012
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23586 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.23586 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
ขยะ -- แง่สิ่งแวดล้อม น้ำเสีย -- การวิเคราะห์ ความต้องการออกซิเจนทางชีวเคมี Refuse and refuse disposal -- Environmental aspects Sewage -- Analysis Biochemical oxygen demand |
spellingShingle |
ขยะ -- แง่สิ่งแวดล้อม น้ำเสีย -- การวิเคราะห์ ความต้องการออกซิเจนทางชีวเคมี Refuse and refuse disposal -- Environmental aspects Sewage -- Analysis Biochemical oxygen demand ไมตรี ศิริบรรจงศักดิ์ การวิเคราะห์ความสัมพันธ์แบบถดถอยเชิงเส้นระหว่างค่าบีโอดีและซีโอดีของน้ำชะมูลฝอยชุมชนกับองค์ประกอบทางกายภาพของมูลฝอยชุมชนและสภาพแวดล้อม |
description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2547 |
author2 |
ธเรศ ศรีสถิตย์ |
author_facet |
ธเรศ ศรีสถิตย์ ไมตรี ศิริบรรจงศักดิ์ |
format |
Theses and Dissertations |
author |
ไมตรี ศิริบรรจงศักดิ์ |
author_sort |
ไมตรี ศิริบรรจงศักดิ์ |
title |
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์แบบถดถอยเชิงเส้นระหว่างค่าบีโอดีและซีโอดีของน้ำชะมูลฝอยชุมชนกับองค์ประกอบทางกายภาพของมูลฝอยชุมชนและสภาพแวดล้อม |
title_short |
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์แบบถดถอยเชิงเส้นระหว่างค่าบีโอดีและซีโอดีของน้ำชะมูลฝอยชุมชนกับองค์ประกอบทางกายภาพของมูลฝอยชุมชนและสภาพแวดล้อม |
title_full |
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์แบบถดถอยเชิงเส้นระหว่างค่าบีโอดีและซีโอดีของน้ำชะมูลฝอยชุมชนกับองค์ประกอบทางกายภาพของมูลฝอยชุมชนและสภาพแวดล้อม |
title_fullStr |
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์แบบถดถอยเชิงเส้นระหว่างค่าบีโอดีและซีโอดีของน้ำชะมูลฝอยชุมชนกับองค์ประกอบทางกายภาพของมูลฝอยชุมชนและสภาพแวดล้อม |
title_full_unstemmed |
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์แบบถดถอยเชิงเส้นระหว่างค่าบีโอดีและซีโอดีของน้ำชะมูลฝอยชุมชนกับองค์ประกอบทางกายภาพของมูลฝอยชุมชนและสภาพแวดล้อม |
title_sort |
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์แบบถดถอยเชิงเส้นระหว่างค่าบีโอดีและซีโอดีของน้ำชะมูลฝอยชุมชนกับองค์ประกอบทางกายภาพของมูลฝอยชุมชนและสภาพแวดล้อม |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2012 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23586 |
_version_ |
1681410482249924608 |
spelling |
th-cuir.235862014-01-27T06:32:48Z การวิเคราะห์ความสัมพันธ์แบบถดถอยเชิงเส้นระหว่างค่าบีโอดีและซีโอดีของน้ำชะมูลฝอยชุมชนกับองค์ประกอบทางกายภาพของมูลฝอยชุมชนและสภาพแวดล้อม The correlation analysis by linear regression between BOD-COD leachate and physical composition of municipal solid wastes and environmental condition ไมตรี ศิริบรรจงศักดิ์ ธเรศ ศรีสถิตย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย ขยะ -- แง่สิ่งแวดล้อม น้ำเสีย -- การวิเคราะห์ ความต้องการออกซิเจนทางชีวเคมี Refuse and refuse disposal -- Environmental aspects Sewage -- Analysis Biochemical oxygen demand วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2547 งานวิจัยนี้เป็นการเก็บตัวอย่างและนำมาทดลองในห้องปฏิบัติการ มีวัตถุประสงค์เพื่อนำ ข้อมูลที่ได้มาใช้ในการวิเคราะห์ความสัมพันธ์แบบถดถอยเซิงเส้นระหว่างค่าบีโอดีและซีโอดีของน้ำ ชะมูลฝอยชุมชนกับองค์ประกอบทางกายภาพของมูลฝอยชุมชนและสภาพแวดล้อม และนำสมการ ความสัมพันธ์ที่ได้ไปใช้ในการตัดสินใจออกแบบระบบบำบัดน้ำเสียได้อย่างมีประสิทธิภาพ การวิจัย แบ่งเป็น 4 ส่วน ส่วนแรกเป็นการวิเคราะห์องค์ประกอบทางกายภาพของมูลฝอยวิธี Quartering เพื่อหาสัดส่วนน้ำหนักของมูลฝอยแต่ละชนิด พบว่าร้อยละของค่าเฉลี่ยของน้ำหนักมูลฝอยแต่ละ ชนิดจากหลุมฝังกลบมูลฝอยชุมชน เทศบาลเมืองแสนสุข ระหว่างเดือน กันยายน 2546-มีนาคม 2547 คือ เศษผัก-อาหาร 53.80, กระดาษ10.67, พลาสติก 8.26 1 เศษไม้-กิ่งไม้ 10.51, หนัง 2.54, ยาง 2.73, ผ้า-สิงทอ 2.23, แก้ว 2.21,หิน-กระเบื้อง 1.18, โลหะ2.02, ของเสียอันตราย 1.11 และ มูลฝอยอื่นๆ 2.70 นอกจากนั้นวิเคราะห์ความหนาแน่นปกติ (Bulk Density) และความชื้นของมูลฝอย (Moisture Content) พบว่ามีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 174.17 ก.ก./ลบ.ม. และ 57.48% ตามลำดับ ส่วนที่ 2 เป็นการวิเคราะห์ลักษณะสมบัติของน้ำชะมูลฝอย พบว่าค่าบีโอดีเฉลี่ย = 360.6 มก./ล., ค่าซี โอดีเฉลี่ย = 1293.8 มก./ล., อุณหภูมิเฉลี่ย = 28.35 °c, ค่าพีเอชเฉลี่ย = 7.4, ของแข็งละลายน้ำเฉลี่ย = 7850.1 มก./ล., ของแข็งแขวนลอยทั้งหมดเฉลี่ย = 369.4 มก./ล. ส่วนที่ 3 เป็นการวิเคราะห์ข้อมูล ทุติยภูมิของปริมาณน้ำฝนที่ตกบริเวณหลุมฝังกลบ พบว่าค่าสูงสุด = 85.5 มม./สัปดาห์, ค่าต่ำสุด = 0 มม./สัปดาห์และค่าเฉลี่ย = 18.07 มม./สัปดาห์ ส่วนที่ 4 เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย โปรแกรมประยุกต์ทางสถิติ SPSS เพื่อพยากรณ์สมการความสัมพันธ์แบบถดถอยเชิงเส้นหว่างค่าบีโอดีและ ซีโอดีของน้ำชะมูลฝอยกับองค์ประกอบทางกายภาพของมูลฝอยชุมชนและสภาพแวดล้อม ที่ ระดับความเชื่อมั่นทางสถิติ ร้อยละ 95 พบว่า รูปแบบสมการถดถอยของค่าบีโอดีที่ได้มานั้น คือ BOD(Ŷ) = 15.792 FOOD - 2.885 RAINFALL - 452.836 ส่วนรูปแบบสมการถดถอยของค่าซีโอดี ที่ได้ คือ COD (Ŷ) = 8.416 FOOD-2.971 RAINFALL+ 873.576 This research is study about field scale sampling and laboratory scale experiment. Purpose of study is to collect data and bring it to statistical analysis. The objective of study is to correlation analysis by linear regression between BOD-COD of leachate and physical composition of municipal solid wastes and environmental condition. Consequence of analysis is obtaining with linear regression model for using design the wastewater treatment plant. Procedure of the experiment is divided in 4 parts. First part is analyzing physical compositions of solid wastes by using Quartering method. This method is used for sorting and analyzing weight proportion of solid wastes. These average results of percentage by weight proportions of each solid waste that is demonstrated in order to food 53.80%, paper 10.67 %, plastic 8.26 %, garden trimming 10.51%, leather 2.54%, Rubber 2.73%, textile 2.23%, glass 2.21%, Stone-Ceramic 1.18%, metal 2.02%, Hazardous waste 1.11%, and others 2.70%. In addition to analyzing weight proportion of solid wastes, bulk density and moisture content are also analyzed. These average results of both are demonstrated that 174.17 kg./m³ and 57.48%. Second part is analyzing leachate characteristics. These average results are demonstrated that BOD = 360.6 mg/L, COD = 1293.8 mg/L, Temperature = 28.35 °c, pH = 7.4, Total Dissolved Solids = 7850.1 mg/L, Total Suspended Solids = 369.4 mg/L .Third part is analyzing secondary data of rainfall. These maximum, minimum and average results are demonstrated that 85.5 mm./week, 0 mm./week and 18.07 mm./week. Fourth part is analyzing collected data by using SPSS for Window that is program for statistical analysis, by using p ≤ 0.05. Two results from analyzing are demonstrated that BOD (Ŷ) = 15.792 FOOD - 2.885 RAINFALL - 452.836 and the another one is demonstrated that COD (Ŷ) = 8.416 FOOD - 2.971 RAINFALL + 873.576 2012-11-09T08:31:14Z 2012-11-09T08:31:14Z 2547 Thesis 9741761775 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23586 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 3006972 bytes 869315 bytes 5240568 bytes 1870788 bytes 8843008 bytes 1162106 bytes 30661661 bytes application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |