แนวทางการเรียนการสอน วิชาออกแบบสถาปัตยกรรมด้วยกระบวนการแก้ปัญหาและการสืบค้น กรณีศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

วิทยานิพนธ์ (สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: ยุทธศาสตร์ ถาปาลบุตร, 2518-
Other Authors: ปรีชญา สิทธิพันธุ์
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2006
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2363
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.2363
record_format dspace
spelling th-cuir.23632007-12-21T09:32:15Z แนวทางการเรียนการสอน วิชาออกแบบสถาปัตยกรรมด้วยกระบวนการแก้ปัญหาและการสืบค้น กรณีศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น Guideline for architectural design studio by problem solving and inquiry based learning case study : Faculty of Architecture, Khon Kaen University ยุทธศาสตร์ ถาปาลบุตร, 2518- ปรีชญา สิทธิพันธุ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ การเรียนรู้เชิงค้นคว้า การสอนแบบแก้ปัญหา การแก้ปัญหา วิทยานิพนธ์ (สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 วิชาออกแบบสถาปัตยกรรมเป็นวิชาแกนในหลักสูตรการศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต ของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่มีหัวใจสำคัญคือ เน้นการปฏิบัติการออกแบบสถาปัตยกรรมในห้องปฏิบัติการหรือสตูดิโอ โดยมีเป้าหมายเพื่อให้นักศึกษาได้รับองค์ความรู้ มีทักษะการทำงานเป็นหมู่คณะและสามารถเสาะแสวงหาความรู้ใหม่ๆ เพื่อพัฒนาตนเองในการปฏิบัติวิชาชีพสถาปัตยกรรมเมื่อจบการศึกษา การวิจัยโครงการนี้ประยุกต์ทฤษฎีการเรียนรู้แบบสืบค้น โดยใช้ประเด็นคำถามและโปรแกรมงานออกแบบประเภท "ปัญหาในการออกแบบ" เป็นหัวข้อโครงการ เข้ามาใช้กับการเรียนการสอนปฏิบัติการออกแบบสตูดิโอของนักศีกษาชั้นปีที่ 4 สาขาออกแบบสถาปัตยกรรมของสถาบันแห่งนี้ การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างทักษะการเสาะแสวงหาความรู้ใหม่ด้วยตัวนักศึกษาเอง ตามเป้าหมายของวิชาและเตรียมความพร้อมสำหรับการทำโครงการในวิชาวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาเมื่อขึ้นชั้นปีที่ 5 ผลงานวิจัยคือโปรแกรมและแผนการสอนในแนวทางการเรียนรู้แบบการแก้ปัญหาและการสืบค้น ผลการทดลองทำให้พบว่า การปฏิบัติการออกแบบสถาปัตยกรรมสามารถใช้ประเด็นคำถาม และการสืบค้นเป็นจุดเริ่มต้นการออกแบบได้ คือ สามารถสร้างหัวข้อและโปรแกรมได้ ขณะเดียวกันผู้ออกแบบสามารถใช้ประเด็นคำถามและการสืบค้นในทุกขั้นตอนของการแก้ปัญหาได้ด้วย ผลของการออกแบบในการปฏิบัติการคือ แนวความคิดต้นแบบของงานออกแบบสถาปัตยกรรมประเภทใหม่ โครงการวิจัยนี้สอดคล้องกับแนวทางการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางตามแนวคิดพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติปี พ.ศ. 2542 อีกทั้งกระตุ้นและส่งเสริมให้ผู้สอนเกิดความสนใจการพัฒนาการสอนของตนเองสู่การวิจัยในชั้นเรียนด้านสถาปัตยกรรม และขยายผลการวิจัยเป็นโปรแกรมและแผนการสอนต้นแบบในวิชาออกแบบสาขาอื่นๆ เช่น ผังเมือง เทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม และเทคโนโลยีการก่อสร้าง เป็นต้น Architectural Design Studio is core course of the Bachelor in Architectural Program, Faculty of Architecture, Khon Kaen University. As a major part of the course, There is laboratory or studies for practical design training. Objectives of course are enhancing knowledge, teamwork and the inquiry skills of students for the time after they have graduated from university. The research applies :The issue- Inquiry Based Learning Theory" and "Design problem" program to class experiment. The research solution will serve as a architectural program and course syllabus for "Issue Inquiry Based Learning". The research is conducted in the 4th Year student design studio and aims to constructuring process of inquiry that follows the architectural design studio's objective. Furthermore, The research prepares students for their final project, "Thesis Design" in their 5th Year. The experiment showed the design process can manipulated "Issue and inquiry" for an initial topic and programming. Moreover, The design process can manipulate "Issue and inquiry" to investigate a solution for all design processes. The design solution of the experiment is "Conceptual idea of New architectural typology". This research in the line with the National Education Code (1998) that focuses on students as center of study. By expanding the application, research solutions may provoke and inspire ideas for instructors concerned with architectural education. The research solution can serve as a role model for other fields of environmental design studies such as Urban design, Environmental technology design and Building construction technology design. 2006-09-06T02:13:42Z 2006-09-06T02:13:42Z 2547 Thesis 9745318434 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2363 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2428314 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic มหาวิทยาลัยขอนแก่น. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
การเรียนรู้เชิงค้นคว้า
การสอนแบบแก้ปัญหา
การแก้ปัญหา
spellingShingle มหาวิทยาลัยขอนแก่น. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
การเรียนรู้เชิงค้นคว้า
การสอนแบบแก้ปัญหา
การแก้ปัญหา
ยุทธศาสตร์ ถาปาลบุตร, 2518-
แนวทางการเรียนการสอน วิชาออกแบบสถาปัตยกรรมด้วยกระบวนการแก้ปัญหาและการสืบค้น กรณีศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
description วิทยานิพนธ์ (สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547
author2 ปรีชญา สิทธิพันธุ์
author_facet ปรีชญา สิทธิพันธุ์
ยุทธศาสตร์ ถาปาลบุตร, 2518-
format Theses and Dissertations
author ยุทธศาสตร์ ถาปาลบุตร, 2518-
author_sort ยุทธศาสตร์ ถาปาลบุตร, 2518-
title แนวทางการเรียนการสอน วิชาออกแบบสถาปัตยกรรมด้วยกระบวนการแก้ปัญหาและการสืบค้น กรณีศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
title_short แนวทางการเรียนการสอน วิชาออกแบบสถาปัตยกรรมด้วยกระบวนการแก้ปัญหาและการสืบค้น กรณีศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
title_full แนวทางการเรียนการสอน วิชาออกแบบสถาปัตยกรรมด้วยกระบวนการแก้ปัญหาและการสืบค้น กรณีศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
title_fullStr แนวทางการเรียนการสอน วิชาออกแบบสถาปัตยกรรมด้วยกระบวนการแก้ปัญหาและการสืบค้น กรณีศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
title_full_unstemmed แนวทางการเรียนการสอน วิชาออกแบบสถาปัตยกรรมด้วยกระบวนการแก้ปัญหาและการสืบค้น กรณีศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
title_sort แนวทางการเรียนการสอน วิชาออกแบบสถาปัตยกรรมด้วยกระบวนการแก้ปัญหาและการสืบค้น กรณีศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2006
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2363
_version_ 1681413805993623552