การวิเคราะห์ตัวประกอบแบบสอบถามความถนัดเชิงวิศวกรรม ฟอร์ม 2517

วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2518

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: มาณี สมิธิสัมพันธ์
Other Authors: อุทุมพร ทองอุไทย
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2012
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23682
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.23682
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic การวิเคราะห์ตัวประกอบ
แบบสอบถาม
การวัดความถนัดทางการเรียน
วิศวกรรมศาสตร์ -- การวัดความถนัด
Ability -- Testing
Factor analysis
Questionnaires
Engineering -- Ability testing
spellingShingle การวิเคราะห์ตัวประกอบ
แบบสอบถาม
การวัดความถนัดทางการเรียน
วิศวกรรมศาสตร์ -- การวัดความถนัด
Ability -- Testing
Factor analysis
Questionnaires
Engineering -- Ability testing
มาณี สมิธิสัมพันธ์
การวิเคราะห์ตัวประกอบแบบสอบถามความถนัดเชิงวิศวกรรม ฟอร์ม 2517
description วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2518
author2 อุทุมพร ทองอุไทย
author_facet อุทุมพร ทองอุไทย
มาณี สมิธิสัมพันธ์
format Theses and Dissertations
author มาณี สมิธิสัมพันธ์
author_sort มาณี สมิธิสัมพันธ์
title การวิเคราะห์ตัวประกอบแบบสอบถามความถนัดเชิงวิศวกรรม ฟอร์ม 2517
title_short การวิเคราะห์ตัวประกอบแบบสอบถามความถนัดเชิงวิศวกรรม ฟอร์ม 2517
title_full การวิเคราะห์ตัวประกอบแบบสอบถามความถนัดเชิงวิศวกรรม ฟอร์ม 2517
title_fullStr การวิเคราะห์ตัวประกอบแบบสอบถามความถนัดเชิงวิศวกรรม ฟอร์ม 2517
title_full_unstemmed การวิเคราะห์ตัวประกอบแบบสอบถามความถนัดเชิงวิศวกรรม ฟอร์ม 2517
title_sort การวิเคราะห์ตัวประกอบแบบสอบถามความถนัดเชิงวิศวกรรม ฟอร์ม 2517
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2012
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23682
_version_ 1681413953987543040
spelling th-cuir.236822014-05-04T04:54:13Z การวิเคราะห์ตัวประกอบแบบสอบถามความถนัดเชิงวิศวกรรม ฟอร์ม 2517 A factor analysis of the engineering aptitude test from 2517 มาณี สมิธิสัมพันธ์ อุทุมพร ทองอุไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย การวิเคราะห์ตัวประกอบ แบบสอบถาม การวัดความถนัดทางการเรียน วิศวกรรมศาสตร์ -- การวัดความถนัด Ability -- Testing Factor analysis Questionnaires Engineering -- Ability testing วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2518 วิเคราะห์ข้อสอบและตัวประกอบของแบบสอบความถนัดเชิงวิศวกรรม ฟอร์ม 2517 แบบสอบนี้ปรับปรุงจากแบบสอบความถนัดเชิงวิศวกรรม ฟอร์ม 2516 ประกอบด้วยแบบสอบย่อยสามชุด คือแบบสอบย่อยความถนัดเชิงคณิตศาสตร์ เชิงเหตุผลทางวิศวกรรมศาสตร์ และเชิงความสัมพันธ์ด้านรูปร่าง จำนวนข้อสอบทั้งสิ้น 90 ข้อ กำหนดเวลาสอบ 70 นาที การวิเคราะห์ข้อใช้เทคนิค 27 % กลุ่มสูงและกลุ่มต่ำ เพื่อคำนวณหาความยากและอำนาจจำแนกของข้อสอบ ความเที่ยงเชิงความสอดคล้องภายใน คำนวณจากสูตรคูเดอร์ ริชาร์ดสัน สูตรที่ 20 ความตรงภายในจากสหสัมพันธ์ของคะแนนจากแบบสอบย่อยกับแบบสอบรวม และความตรงเชิงทำนายจากสหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนจากแบบสอบและคะแนนเฉลี่ยของภาคต้นปีการศึกษา 2517 ของกลุ่มตัวอย่าง วิเคราะห์ตัวประกอบโดยวิธี พรินซิเพิลแฟคเตอร์ (Principal Factor Method) และหมุนแกนตัวประกอบโดยวิธีไกเซอร์แวริแมกซ์ (The Kaiser Varimax Rotation) ได้ผลวิเคราะห์ดังนี้ แบบสอบความถนัดเชิงวิศวกรรม ฟอร์ม 2517 มีความยากอยู่ระหว่าง .021 ถึง .991 อำนาจจำแนกอยู่ระหว่าง -057 กึง .582 ร้อยละ 53.3 ของข้อสอบทั้งหมดอยู่ ในเกณฑ์ที่ดี คือ มีความยากอยู่ระหว่าง .100 ถึง .800 และอำนาจจำแนกตั้งแต่ .200 ขึ้นไป ส่วนข้อสอบที่จัดว่าเป็นข้อสอบคัดเลือกที่เหมาะสมอย่างยิ่ง คือ มีความยาก ระหว่า ง .100 ถึง .800 และอำนาจจำแนกสูงกว่า .500 มีเพียงร้อยละ 3.6 ของข้อสอบทั้งหมด ค่าสัมประสิทธิ์แห่งความเที่ยงเชิงความสอดคล้องภายในของแบบสอบรวมเท่ากับ .741 ส่วนค่าสัมประสิทธิ์แห่งความเที่ยงของแบบสอบย่อยความถนัดเชิงคณิตศาสตร์ เชิงเหตุผลทาง วิศวกรรมศาสตร์ และเชิงความสัมพันธ์ด้านรูปร่าง เท่ากับ .552, .632 และ .649 ตามลำดับ ค่าสัมประสิทธิ์ทางตรงภายในจากสหสัมพันธ์ของส่วนย่อยกับส่วนรวมของแบบสอบย่อยความถนัดเชิงคณิตศาสตร์ เชิงเหตุผลทางวิศวกรรมศาสตร์ และเชิงความสัมพันธ์ด้านรูปร่าง เท่ากับ .679, .762 และ .688 ตามลำดับ ค่าสัมประสิทธ์แห่งความตรง เชิงทำนายจากสหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนเฉลี่ยของภาคต้นปีการศึกษา 2517 กับคะแนนจาก แบบสอบความถนัดเชิงวิศวกรรม ฟอร์ม 2517 และจากแบบสอบย่อยความถนัดเชิงคณิตศาสตร์เชิงเหตุผลาทางวิศวกรรมศาสตร์ เชิงความสัมพันธ์ด้านรูปร่างกับ .260, .130, .212 และ .182 ตามลำดับ ซึ่งมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 ทุกค่าจากการวิเคราะห์โครงสร้างทางทฤษฎีของแบบสอบโดยวิธีวิเคราะห์ตัวประกอบ ปรากฏว่าแบบสอบความถนัดเชิงวิศวกรรมฟอร์ม 2517 ประกอบด้วยตัวประกอบทั้งสิ้น 23 ตัว หลังจากหมุนแกนตัวประกอบแบบออโธกอนอลแล้วได้ตัวประกอบที่สำคัญ 4 ตัว คือตัวประกอบเชิงคณิตศาสตร์ ตัวประกอบเชิงวิศวกรรมขั้นมูลฐานทางปฏิบัติ ตัวประกอบเชิงความสัมพันธ์ด้านรูปร่างและคัวประกอบเชิงฟิสิกส์ประยุกต์ To analyze the Engineering Aptitude Battery Test Form 2517 which is the revised Form of 2516, It consists of three separate subtests measuring numerical ability, mechanical reasoning and space relations. It requires 70 minutes to complete 90 items. The high-1ow 27% group method of item analy¬sis is used to obtain the level of difficulty and the power of discrimination. The reliability (internal consistency) of the battery is determined by the Kuder-Richardson formula 20. The internal validity is determined by the part-whole correlation. The predictive validity is determined by the correlation between the test scores and the first semester grade point average of academic year 1974. The data is analyzed into factors by using the Principal Factor Method and the Kaiser Varimax Rotation. The results are as follows; The level of difficulty is from .021 to .991. The power of discrimination is from -.057 to .582, It is found 52.3% of all items within the level of difficulty from .100 to .800 and the power of discrimination exceeding .200 and 3.6$ of all items are considered as good items with the level of difficulty from .100 to .800 and the power of discrimination exceeding .500. The reliability co¬efficient of the battery is .741 ; the numerical ability, mecha¬nical reasoning and space relations of the subtests are .552, .632 and .649, respectively. The internal validity coefficient of the numerical ability, mechanical reasoning and space relations are .679, .762 and .688 respectively. The predictive validity coefficient of the Engineering Aptitude Battery Test Form 2517 is .260; the numerical ability, mechanical reasoning and space relations of the subtests are .130, .212 and .182, respectively. These predic¬tive validity coefficients are significant at the .01 level. The Engineering Aptitude Battery Test Farm 2517 is factor analyzed. Twenty three factors are emerged. 1. After, orthogonal rotations, four major factors are interpreted as numerical ability, mechanical reasoning, space relations and applied physics. 2012-11-10T07:52:08Z 2012-11-10T07:52:08Z 2518 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23682 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 533468 bytes 420103 bytes 778852 bytes 369641 bytes 2313784 bytes 1045199 bytes 883049 bytes application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย