ความถี่ในการสอบย่อยที่มีผลต่อคะแนนสอบวิชาวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1

วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: สุพัตรา ยี่สุ่นทอง
Other Authors: สุวิมล ว่องวานิช
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2012
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23814
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.23814
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
description วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533
author2 สุวิมล ว่องวานิช
author_facet สุวิมล ว่องวานิช
สุพัตรา ยี่สุ่นทอง
format Theses and Dissertations
author สุพัตรา ยี่สุ่นทอง
spellingShingle สุพัตรา ยี่สุ่นทอง
ความถี่ในการสอบย่อยที่มีผลต่อคะแนนสอบวิชาวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1
author_sort สุพัตรา ยี่สุ่นทอง
title ความถี่ในการสอบย่อยที่มีผลต่อคะแนนสอบวิชาวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1
title_short ความถี่ในการสอบย่อยที่มีผลต่อคะแนนสอบวิชาวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1
title_full ความถี่ในการสอบย่อยที่มีผลต่อคะแนนสอบวิชาวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1
title_fullStr ความถี่ในการสอบย่อยที่มีผลต่อคะแนนสอบวิชาวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1
title_full_unstemmed ความถี่ในการสอบย่อยที่มีผลต่อคะแนนสอบวิชาวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1
title_sort ความถี่ในการสอบย่อยที่มีผลต่อคะแนนสอบวิชาวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2012
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23814
_version_ 1681411255676436480
spelling th-cuir.238142013-09-17T00:36:32Z ความถี่ในการสอบย่อยที่มีผลต่อคะแนนสอบวิชาวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1 The effects of formative testing frequency on science test scores of mathayom suksa one students สุพัตรา ยี่สุ่นทอง สุวิมล ว่องวานิช จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533 การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความถี่ในการสอบย่อยที่มีผลต่อคะแนนสอบวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนตาคลีประชาสรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ จำนวน 144 คน แบ่งเป็น 6 กลุ่มๆละ 24 คน แต่ละกลุ่มมีนักเรียนที่มีระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง ปานกลางและต่ำ เท่ากัน สุ่มเป็นกลุ่มทดลอง 5 กลุ่ม กลุ่มควบคุม 1 กลุ่ม โดยกลุ่มทดลองที่ 1 ได้รับการสอบย่อยทุกครั้งที่เรียน กลุ่มทดลองที่ 2 ได้รับการสอบย่อยทุกๆ 2 ครั้งที่เรียน กลุ่มทดลองที่ 3 ได้รับการสอบย่อยทุกๆ 3 ครั้งที่เรียน กลุ่มทดลองที่ 4 ได้รับการสอบย่อยทุกๆ 4 ครั้งที่เรียน กลุ่มทดลองที่ 5 ได้รับการสอบย่อยทุกๆ 6 ครั้งที่เรียน ส่วนกลุ่มควบคุมเรียนโดยไม่ได้รับการสอบย่อยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ (ว102) เรื่องโลกสีเขียวคือ แบบสอบย่อยและแบบสอบรวมวิชาวิทยาศาสตร์ ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวน 2 ทาง (Two-way Analysis of Variance) ผลการวิจัยพบว่า 1. มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกับความถี่ในการสอบย่อยต่อคะแนนสอบวิชาวิทยาศาสตร์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. นักเรียนระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงและปานกลาง เมื่อได้รับการสอบย่อยความถี่ที่ต่างกัน 5 แบบ มีค่ามัชฌิมเลขคณิตของคะแนนสอบวิชาวิทยาศาสตร์แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ 3. นักเรียนระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ เมื่อได้รับการสอบย่อยด้วยความถี่ที่ต่างกัน 5 แบบ มีค่ามัชฌิมเลขคณิตของคะแนนสอบวิชาวิทยาศาสตร์แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยกลุ่มที่ใช้ความถี่ในการสอบย่อยมากมีค่ามัชฌิมเลขคณิตของคะแนนสอบสูงกว่ากลุ่มที่ใช้ความถี่ในการสอบย่อยน้อย The purpose of this research was to study the effects of formative testing frequency on science test Scores of Mathayom Suksa I students. The subjects of this research were 144 Mathayom Suksa I students at Takhleeprachasan School, Nakhonswan during the 1989 academic year. The subjects were divided into six groups (twenty-four students in each) depending on the levels of students‘ learning achievement which were categorized as high, moderate and low. They were randomly assigned to five experimental groups and one control group. The first experimental group took a formative test after every teaching period; the second after every two periods: the third after every three periods; the fourth after every four periods and the fifth after every six periods of study. The control group did not take a formative test. The researcher-constructed instrument of the research was a science- achievement test on "The Green World“ (Sci. 102) which was used as both formative and summative tests. Two-way analysis of variance was employed to analyze the collected data. The findings of the research were as follows: 1. There was a statistically significant interaction (p <.05) between the level of students‘ learning achievement and the frequency of formative tests in the scores of the science-achievement test. 2. The arithmetic mean of the scores of the high and moderate achievement groups which took five different formative tests were not statistically significant. 3. The low achievement group which took five different formative tests got different arithmetic means which were statistically significant (p <.05). The groups which took formative tests more frequently got higher arithmetic means than the groups which took those tests less frequently. 2012-11-12T06:38:06Z 2012-11-12T06:38:06Z 2533 Thesis 9745781118 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23814 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 3357812 bytes 3826469 bytes 5765688 bytes 6085902 bytes 3848799 bytes 2938695 bytes 15367968 bytes application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย