การพัฒนาหลักสูตรระยะสั้นการออกแบบเครื่องประดับ : รายงานผลการวิจัย

โครงการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะสร้างหลักสูตรระยะสั้นการออกแบบเครื่องประดับ เพื่อลดปัญหาความขาดแคลนนักออกแบบในอุตสาหกรรมเครื่องประดับขนาดกลางและขนาดเล็ก เป็นหลักสูตรเร่งรัดที่ใช้เวลาสั้นกว่าการศึกษาภาคปกติ เหมาะสมกับบุคลากรที่มีพื้นฐานการศึกษาด้านศิลปะและการออกแบบหรือผู้ที่อยู่ในธุรกิจอุตสาหกรรมเค...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: อรพินท์ พานทอง, ภูวไนย ทรรทรานนท์
Other Authors: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาการออกแบบอุตสาหกรรม
Format: Technical Report
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2006
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2399
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.2399
record_format dspace
spelling th-cuir.23992008-01-04T10:50:53Z การพัฒนาหลักสูตรระยะสั้นการออกแบบเครื่องประดับ : รายงานผลการวิจัย อรพินท์ พานทอง ภูวไนย ทรรทรานนท์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาการออกแบบอุตสาหกรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาการออกแบบอุตสาหกรรม การออกแบบเครื่องประดับ--หลักสูตร โครงการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะสร้างหลักสูตรระยะสั้นการออกแบบเครื่องประดับ เพื่อลดปัญหาความขาดแคลนนักออกแบบในอุตสาหกรรมเครื่องประดับขนาดกลางและขนาดเล็ก เป็นหลักสูตรเร่งรัดที่ใช้เวลาสั้นกว่าการศึกษาภาคปกติ เหมาะสมกับบุคลากรที่มีพื้นฐานการศึกษาด้านศิลปะและการออกแบบหรือผู้ที่อยู่ในธุรกิจอุตสาหกรรมเครื่องประดับ หลักสูตรนี้จะเพิ่มศักยภาพด้านการออกแบบโดยเฉพาะเครื่องประดับให้กับบุคลากรดังกล่าว และจะดำเนินการโดยภาควิชาการออกแบบอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วิธีการวิจัย ประกอบด้วย การรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถาม ซึ่งสร้างขึ้นเพื่อศึกษาความต้องการ และคุณสมบัติของนักออกแบบเครื่องประดับ ข้อเสนอแนะเนื้อหาความรู้ และระยะเวลาที่เหมาะสม ตลอดจนกิจกรรมสนับสนุนการศึกษาหลักสูตรเร่งรัดนี้ การรวบรวมข้อมูลจากเอกสารที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตรการออกแบบเครื่องประดับและวิธีการจัดการ การเรียนการสอนออกแบบ การสัมมนาระดมความคิดระหว่างผู้ประกอบการอุตสาหกรรมเครื่องประดับ และนักวิชาการจากสถาบันการศึกษาด้านศิลปะและการออกแบบสาขาต่าง ๆ ข้อมูลจากการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ข้างต้นได้ผ่านการวิเคราะห์รวบรวมเป็น "ร่าง" หลักสูตรระยะสั้นการออกแบบเครื่องประดับ ส่งให้ผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาที่เกี่ยวข้อง ตรวจพิจารณาให้ความคิดเห็นเพื่อแก้ไขก่อนที่จะดำเนินการทดลอง การทดลองหลักสูตรใช้เวลา 5 สัปดาห์ ทำให้ได้ข้อสรุปในการปรับปรุงแก้ไขในรายละเอียดของหลักสูตรให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น ข้อมูลจากคำแนะนำของผู้ทรงคุณวุฒิ และผลการทดลอง ทำให้สามารถสรุปเป็นหลักสูตรระยะสั้นการออกแบบเครื่องประดับที่เหมาะสม ประกอบด้วย รายละเอียดโครงสร้างหลักสูตร เนื้อหารายวิชา ระยะเวลาเรียนแต่ละวิชา กิจกรรมที่เหมาะสมกับการเรียนออกแบบเครื่องประดับ เครื่องมือและครุภํณฑ์ที่จำเป็น รวมถึงคุณสมบัติของผู้เรียนเป็นต้น การวิจัยนี้นอกจากจะเกิดประโยชน์โดยตรงต่ออุตสาหกรรมเครื่องประดับขนาดกลางและขนาดเล็กแล้ว ยังใช้เป็นตัวอย่างวิธีการสร้างหลักสูตรให้กับสถาบันการศึกษาอื่น ๆ ที่ประสงค์จะสร้างหลักสูตรระยะสั้นอีกด้วย The purpose of this study was to develop intensive jewelry design curriculum model in order to solve the problem of jewelry designer shortage in small and medium size jewelry industries. This model took shorter time of study than general acedemic midel. It was appropriated for person who had art and design educational background or those who involved with jewelry industries. It would increase especially jewelry design potential for those selected group of people and would organize by the Department of Industrial Design. Faculty of Architecture, Chulalongkorn University. The procedure included ; data collection from questionnairs which were designed for jewelry designers' qualifications and the need of jewelry designers, suggestions for courses descriptions, appropriated period of time as well as special activities supported this intensive courses, data collection from jewelry design curriculum structure and management documentory, appropriate model of teaching for design study, the results from a seminar among the jewelry industry staffs and the academic staffs from different art and design institutes. All data were analized and developed the "draft" of intensive curriculum model of jewelry design. The draft was commented by the selected specialists in area of study. Then the experiment had been canducted for 5 weeks. The results from specialists' coments and the experimentation provided more data to set the final intensive jewelry design curriculum with all details such as curriculum structure, courses descriptions, period of time, activities suitable for jewelry design courses, tool and equipments and also qualification of the learners. This research was not only utilized for jewelry industries but also an example for any other institutions who wish to develop such intensive course. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย 2006-09-09T06:54:20Z 2006-09-09T06:54:20Z 2542 Technical Report http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2399 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 54644453 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic การออกแบบเครื่องประดับ--หลักสูตร
spellingShingle การออกแบบเครื่องประดับ--หลักสูตร
อรพินท์ พานทอง
ภูวไนย ทรรทรานนท์
การพัฒนาหลักสูตรระยะสั้นการออกแบบเครื่องประดับ : รายงานผลการวิจัย
description โครงการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะสร้างหลักสูตรระยะสั้นการออกแบบเครื่องประดับ เพื่อลดปัญหาความขาดแคลนนักออกแบบในอุตสาหกรรมเครื่องประดับขนาดกลางและขนาดเล็ก เป็นหลักสูตรเร่งรัดที่ใช้เวลาสั้นกว่าการศึกษาภาคปกติ เหมาะสมกับบุคลากรที่มีพื้นฐานการศึกษาด้านศิลปะและการออกแบบหรือผู้ที่อยู่ในธุรกิจอุตสาหกรรมเครื่องประดับ หลักสูตรนี้จะเพิ่มศักยภาพด้านการออกแบบโดยเฉพาะเครื่องประดับให้กับบุคลากรดังกล่าว และจะดำเนินการโดยภาควิชาการออกแบบอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วิธีการวิจัย ประกอบด้วย การรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถาม ซึ่งสร้างขึ้นเพื่อศึกษาความต้องการ และคุณสมบัติของนักออกแบบเครื่องประดับ ข้อเสนอแนะเนื้อหาความรู้ และระยะเวลาที่เหมาะสม ตลอดจนกิจกรรมสนับสนุนการศึกษาหลักสูตรเร่งรัดนี้ การรวบรวมข้อมูลจากเอกสารที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตรการออกแบบเครื่องประดับและวิธีการจัดการ การเรียนการสอนออกแบบ การสัมมนาระดมความคิดระหว่างผู้ประกอบการอุตสาหกรรมเครื่องประดับ และนักวิชาการจากสถาบันการศึกษาด้านศิลปะและการออกแบบสาขาต่าง ๆ ข้อมูลจากการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ข้างต้นได้ผ่านการวิเคราะห์รวบรวมเป็น "ร่าง" หลักสูตรระยะสั้นการออกแบบเครื่องประดับ ส่งให้ผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาที่เกี่ยวข้อง ตรวจพิจารณาให้ความคิดเห็นเพื่อแก้ไขก่อนที่จะดำเนินการทดลอง การทดลองหลักสูตรใช้เวลา 5 สัปดาห์ ทำให้ได้ข้อสรุปในการปรับปรุงแก้ไขในรายละเอียดของหลักสูตรให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น ข้อมูลจากคำแนะนำของผู้ทรงคุณวุฒิ และผลการทดลอง ทำให้สามารถสรุปเป็นหลักสูตรระยะสั้นการออกแบบเครื่องประดับที่เหมาะสม ประกอบด้วย รายละเอียดโครงสร้างหลักสูตร เนื้อหารายวิชา ระยะเวลาเรียนแต่ละวิชา กิจกรรมที่เหมาะสมกับการเรียนออกแบบเครื่องประดับ เครื่องมือและครุภํณฑ์ที่จำเป็น รวมถึงคุณสมบัติของผู้เรียนเป็นต้น การวิจัยนี้นอกจากจะเกิดประโยชน์โดยตรงต่ออุตสาหกรรมเครื่องประดับขนาดกลางและขนาดเล็กแล้ว ยังใช้เป็นตัวอย่างวิธีการสร้างหลักสูตรให้กับสถาบันการศึกษาอื่น ๆ ที่ประสงค์จะสร้างหลักสูตรระยะสั้นอีกด้วย
author2 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาการออกแบบอุตสาหกรรม
author_facet จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาการออกแบบอุตสาหกรรม
อรพินท์ พานทอง
ภูวไนย ทรรทรานนท์
format Technical Report
author อรพินท์ พานทอง
ภูวไนย ทรรทรานนท์
author_sort อรพินท์ พานทอง
title การพัฒนาหลักสูตรระยะสั้นการออกแบบเครื่องประดับ : รายงานผลการวิจัย
title_short การพัฒนาหลักสูตรระยะสั้นการออกแบบเครื่องประดับ : รายงานผลการวิจัย
title_full การพัฒนาหลักสูตรระยะสั้นการออกแบบเครื่องประดับ : รายงานผลการวิจัย
title_fullStr การพัฒนาหลักสูตรระยะสั้นการออกแบบเครื่องประดับ : รายงานผลการวิจัย
title_full_unstemmed การพัฒนาหลักสูตรระยะสั้นการออกแบบเครื่องประดับ : รายงานผลการวิจัย
title_sort การพัฒนาหลักสูตรระยะสั้นการออกแบบเครื่องประดับ : รายงานผลการวิจัย
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2006
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2399
_version_ 1681408721796726784