ชุดเครื่องมือวินิจฉัยจุดอ่อน จุดแข็ง สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3

วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: วัลยา ธำรงลักษณ์รัตน์
Other Authors: ศิริเดช สุชีวะ
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2012
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24882
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.24882
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
description วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546
author2 ศิริเดช สุชีวะ
author_facet ศิริเดช สุชีวะ
วัลยา ธำรงลักษณ์รัตน์
format Theses and Dissertations
author วัลยา ธำรงลักษณ์รัตน์
spellingShingle วัลยา ธำรงลักษณ์รัตน์
ชุดเครื่องมือวินิจฉัยจุดอ่อน จุดแข็ง สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
author_sort วัลยา ธำรงลักษณ์รัตน์
title ชุดเครื่องมือวินิจฉัยจุดอ่อน จุดแข็ง สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
title_short ชุดเครื่องมือวินิจฉัยจุดอ่อน จุดแข็ง สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
title_full ชุดเครื่องมือวินิจฉัยจุดอ่อน จุดแข็ง สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
title_fullStr ชุดเครื่องมือวินิจฉัยจุดอ่อน จุดแข็ง สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
title_full_unstemmed ชุดเครื่องมือวินิจฉัยจุดอ่อน จุดแข็ง สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
title_sort ชุดเครื่องมือวินิจฉัยจุดอ่อน จุดแข็ง สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2012
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24882
_version_ 1681410912751190016
spelling th-cuir.248822013-10-11T15:02:51Z ชุดเครื่องมือวินิจฉัยจุดอ่อน จุดแข็ง สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 Strength-weakness diagnostic tool kit for Prathom Suksa three students วัลยา ธำรงลักษณ์รัตน์ ศิริเดช สุชีวะ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาชุดเครื่องมือวินิจฉัยจุดอ่อน จุดแข็งทางด้านพุทธิปัญญา ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนชุมชนเปือยหัวดง จังหวัดอำนาจเจริญ ปีการศึกษา 2546 จำนวน 80 คน 1. เครื่องมือวินิจฉัยจุดอ่อน จุดแข็ง นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ทางด้านพุทธิปัญญาที่พัฒนาขึ้น ประกอบไปด้วยเครื่องมือวินิจฉัยความสามารถหลัก (Core ability) 4 ด้าน ดังนี้ 1.1 เครื่องมือวินิจฉัยความสามารถด้านภาษาและการรู้หนังสือ (Verbal & literacy ability) มี 5 ชุด ได้แก่ ชุดคำศัพท์ ชุดการฟัง ชุดการพูด ชุดการอ่าน และชุดการเขียน 1.2 เครื่องมือวินิจฉัยความสามารถด้านตัวเลขและการคำนวณ (Numerical & computational) มี 2 ฉบับ ได้แก่ แบบสอบถามปรนัย 4 ตัวเลือกจำนวน 25 ข้อ และแบบสอบถามอัตนัยจำนวน 10 ข้อ 1.3 เครื่องมือวินิจฉัยความสามารถด้านการใช้เหตุผล (Reasoning ability) มี 5 ฉบับ ได้แก่ การจัดเข้าพวก การจัดไม่เข้าพวก การเปรียบเทียบแบบอุปมาอุปมัย การสรุปความแบบอุปนัย และการสรุปความแบบนิรนัย 1.4 เครื่องมือวินิจฉัยความสามารถด้านการแก้ปัญหา (Problem-solving ability) เป็นแบบ สอบ เอ็ม อี คิว มี 3 กรณีศึกษา 2. คุณภาพของเครื่องมือที่วินิจฉัยพัฒนาขึ้น พบว่า มีค่าความเที่ยง .2267 .5262 .5285 .5447 .5537 .5812 .5901 .6087 .6334 .6436 .6455 .6465 .6560 .7270 .7926 .8014 .8357 .8370 .8394 และมีค่าความตรงเชิงเนื้อหาจากการพิจารณาของผู้เชี่ยวชาญ 10 ท่าน อยู่ระหว่าง 0.8-1.0 3. จากการสอบถามความคิดเห็นของครูผู้สอน ชั้น ป.3 ครูผู้สอนชั้นอื่น และนักเรียน เกี่ยวกับเครื่องมือวินิจฉัย พบว่าเครื่องมือมีความน่าสนใจ ใช้สะดวก มีประโยชน์ต่อนักเรียน และมีความเป็นไปได้ที่จะนำไปใช้จริง 4. จากการสอบถามความคิดเห็นของครูผู้สอน ชั้น ป.3 ครูผู้สอนชั้นอื่น ผู้ปกครอง และนักเรียน เกี่ยวกับแบบรายงานผลการวินิจฉัยรายบุคคลและรายห้อง พบว่า มีประโยชน์ต่อนักเรียนมากทำให้ตัวนักเรียนเองได้ทราบจุดอ่อน จุดแข็งในแต่ละด้านของตัวเอง และช่วยให้ครูได้ทราบถึงศักยภาพโดยรวมของความสามารถของนักเรียนทั้งห้องส่วนความสะดวกและความเข้าใจในการอ่านแบบรายงานผลอยู่ในระดับดี และคำชี้แจงของแบบรายงานผลมีความชัดเจนดีมาก The purpose of this research was to develop cognitive strength - weakness diagnostic tool kit for prathom suksa three students. The sample were 80 of prathom suksa three students of Pauyhoudong School at Amnatjaroen province in academic year 2003. The major findings of this research were as follows: 1. The developed cognitive diagnostic tool kit was composed of 4 core abilities: 1.1 Verbal & literacy ability diagnostic tool kit which consisted of verbal tests, listening tests, speaking tests, reading tests and writing tests. 1.2 Numerical & computational ability diagnostic tool kit which consisted of objective test and subjective test. 1.3 Reasoning ability diagnostic tool kit which consisted of classification test, non classification test, analogy test, inductive inference test and deductive inference test. 1.4 Problem-solving ability diagnostic tool kit which consisted of Modified Essay Question test. 2. The quality of diagnostic too! kit analyzing through Cronbach's alpha were .2267 .5262 .5285 .5447 .5537 .5812 .5901 .6087 .6334 .6436 .6455 .6465 .6560 .7270 .7641 .7926 .8014 .8357 .8370 .8394 and the content validity from the expert judgement was satisfied. 3. From enquiry with teachers and students about diagnostic tool kit, it was found interesting, convenient for using and practicable in classroom. 4. From enquiry with teachers, parents and students about diagnostic report, it was found beneficial for students in providing feedback about their strength and weakness and helpful for teachers to know ability of all students in the classroom. 2012-11-21T05:59:29Z 2012-11-21T05:59:29Z 2546 Thesis 9741757646 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24882 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 3203266 bytes 2421870 bytes 7745843 bytes 6741705 bytes 9049893 bytes 3134428 bytes 14906521 bytes application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย