การวัดปริมาณอะฟลาท็อกซินเอ็ม 1 ในน้ำนมดิบ โดยใช้ไฮเดรทเต็ทโซเดียมแคลเซียมอลูมิโนซิลิเกทในการแยก

วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: โอฬาร ต้นวีรพงษ์ศิริ
Other Authors: เบญจมาส มโหสถนันท์
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2006
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2559
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.2559
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic การปนเปื้อนในน้ำนม
อะฟลาท็อกซิน
ไฮเดรทเต็ทโซเดียมแคลเซียมอลูมิโนซิลิเกท
spellingShingle การปนเปื้อนในน้ำนม
อะฟลาท็อกซิน
ไฮเดรทเต็ทโซเดียมแคลเซียมอลูมิโนซิลิเกท
โอฬาร ต้นวีรพงษ์ศิริ
การวัดปริมาณอะฟลาท็อกซินเอ็ม 1 ในน้ำนมดิบ โดยใช้ไฮเดรทเต็ทโซเดียมแคลเซียมอลูมิโนซิลิเกทในการแยก
description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545
author2 เบญจมาส มโหสถนันท์
author_facet เบญจมาส มโหสถนันท์
โอฬาร ต้นวีรพงษ์ศิริ
format Theses and Dissertations
author โอฬาร ต้นวีรพงษ์ศิริ
author_sort โอฬาร ต้นวีรพงษ์ศิริ
title การวัดปริมาณอะฟลาท็อกซินเอ็ม 1 ในน้ำนมดิบ โดยใช้ไฮเดรทเต็ทโซเดียมแคลเซียมอลูมิโนซิลิเกทในการแยก
title_short การวัดปริมาณอะฟลาท็อกซินเอ็ม 1 ในน้ำนมดิบ โดยใช้ไฮเดรทเต็ทโซเดียมแคลเซียมอลูมิโนซิลิเกทในการแยก
title_full การวัดปริมาณอะฟลาท็อกซินเอ็ม 1 ในน้ำนมดิบ โดยใช้ไฮเดรทเต็ทโซเดียมแคลเซียมอลูมิโนซิลิเกทในการแยก
title_fullStr การวัดปริมาณอะฟลาท็อกซินเอ็ม 1 ในน้ำนมดิบ โดยใช้ไฮเดรทเต็ทโซเดียมแคลเซียมอลูมิโนซิลิเกทในการแยก
title_full_unstemmed การวัดปริมาณอะฟลาท็อกซินเอ็ม 1 ในน้ำนมดิบ โดยใช้ไฮเดรทเต็ทโซเดียมแคลเซียมอลูมิโนซิลิเกทในการแยก
title_sort การวัดปริมาณอะฟลาท็อกซินเอ็ม 1 ในน้ำนมดิบ โดยใช้ไฮเดรทเต็ทโซเดียมแคลเซียมอลูมิโนซิลิเกทในการแยก
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2006
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2559
_version_ 1681410789709185024
spelling th-cuir.25592007-11-30T10:07:21Z การวัดปริมาณอะฟลาท็อกซินเอ็ม 1 ในน้ำนมดิบ โดยใช้ไฮเดรทเต็ทโซเดียมแคลเซียมอลูมิโนซิลิเกทในการแยก Determination of aflatoxin M1 in raw milk by using hydrated sodium calcium aluminosilicate (HSCAS) for isolation โอฬาร ต้นวีรพงษ์ศิริ เบญจมาส มโหสถนันท์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์ การปนเปื้อนในน้ำนม อะฟลาท็อกซิน ไฮเดรทเต็ทโซเดียมแคลเซียมอลูมิโนซิลิเกท วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 ไฮเดรทเต็ทโซเดียมแคลเซียมอลูมิโนซิลิเกต (HSCAS) เป็นสารที่มีความจำเพาะเจาะจงสูง ในการดูดซับสารพิษเชื้อราอะฟลาท็อกซิน โดยเฉพาะอย่างยิ่งอะฟลาท็อกซินบี1 (AFB1) จึงนำมาใช้ผสมในอาหารสัตว์เพื่อป้องกันการดูดซึม AFB1 เข้าสู่ร่างกาย และยังนำ HSCAS มาประยุกต์ใช้ในการตรวจวิเคราะห์ปริมาณ AFB1 อีกด้วย อะฟลาท็อกซินเอ็ม1 (AFM1) เป็นสารเมทะโบไลท์ที่มีพิษของ AFB1 พบมากในน้ำนมของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ที่สำคัญคือน้ำนมโคเพราะเป็นอาหารสำหรับมนุษย์ จึงต้องมีการเฝ้าระวังตรวจสอบการปนเปื้อนของ AFM1 ในน้ำนมโคอย่างสม่ำเสมอ ปัจจุบันวิธีการตรวจสอบ AFM1 ยังต้องใช้ชุดตรวจสอบที่นำเข้าจากต่างประเทศซึ่งมีราคาแพง การพัฒนาชุดตรวจสอบขึ้นใช้เองภายในประเทศ จะเป็นประโยชน์ทั้งในการเฝ้าระวังและลดค่าใช้จ่าย วัตถุประสงค์ในการศึกษาครั้งนี้คือ ต้องการศึกษาประสิทธิภาพการดูดซับ AFM1 ของ HSCAS และศึกษาการสกัดแยก AFM1 ออกจากการดูดซับของ HSCAS เพื่อนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการพัฒนาชุดตรวจสอบสำหรับการสกัดแยก AFM1 ขึ้นใช้ในประเทศไทย การศึกษาครั้งนี้แบ่งออกเป็นสองระยะ โดยผลการศึกษาระยะที่ 1 พบว่าที่ระดับความเข้มข้น 10 พีพีบี (ppb) ของ AFM1 ในน้ำกลั่นปราศจากไอออน ปริมาณของ HSCAS ที่ 0.5 กรัม สามารถดูดซับ AFM1 ได้ประมาณ 90% ปริมาณ HSCAS ที่ 1.0-2.8 กรัม ดูดซับ AFM1 ได้มากกว่า 96% และที่ปริมาตร 3.0-3.4 กรัม สามารถดูดซับได้ถึง 100% และความสามารถของ HSCAS ในการดูดซับ AFM1 ที่ความเข้มข้น 0.5 ppb ในน้ำนมดิบพบว่าปริมาตรของ HSCAS ที่ 0.5-0.75 กรัม สามารถดูดซับ AFM1 ได้ประมาณ 95% ปริมาณ HSCAS ที่ 1.0-2.0 กรัม ดูดซับได้ 98% และปริมาณของ HSCAS ที่ 3.0-4.0 กรัม สามารถดูดซับ 100% และที่ระดับปริมาณของ HSCAS ที่ 2.8 และ 3.0 กรัมในน้ำกลั่นปราศจากไอออน และที่ปริมาณ 2.0 และ 3.0 กรัมในน้ำนมดิบ พบว่ามีความแตกต่างกันในการดูดซับ AFM1 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P< 0.05) เมื่อการดูดซับ AFM1 เกิดขึ้น 100% พบว่าอัตราส่วนการดูดซับ AFM1 ต่อน้ำหนักของ HSCAS ในน้ำกลั่นปราศจากไอออนเท่ากับ33.33 ng/g และในน้ำนมดิบเท่ากับ 8.33 ng/g ส่วนผลการศึกษาในระยะที่ 2 พบว่ามีเพียงตัวทำละลายผสมที่มีส่วนผสมของ H2O:Methanol:Acetonitrile ในอัตราส่วน 57:23:20 เพียงชนิดเดียวที่มีความสามารถในการสกัดแยก AFM1 ออกจากการดูดซับของ HSCAS โดยในการศึกษาครั้งนี้พบว่าที่อุณหภูมิ 40ํC ระยะเวลาที่ใช้ในการสกัดแยกนาน 15 นาที เป็นสภาวะที่ให้ %recovery ที่ดีที่สุด อัตราส่วนของตัวทำละลายผสม : HSCAS ที่ 5:1 จะให้ %recovery ที่สูงที่สุดสำหรับการศึกษาครั้งนี้คือ 32.00% รองลงมาคือ 21.73% และ 14.80% ซึ่งเป็น %recovery ของตัวทำละลายผสม : HSCAS ที่ 4:1 และ 3:1 ตามลำดับ การศึกษาครั้งนี้สรุปได้ว่า HSCAS มีความสามารถในการดูดซับ AFM1 ที่ปนเปื้อนในน้ำนมดิบได้ และตัวทำละลายผสมซึ่งประกอบด้วย H2O:Methanol:Acetonitrile ในอัตราส่วน 57:23:20 มีความสามารถในการสกัดแยก AFM1 ออกจากการดูดซับของ HSCAS ได้ Hydrated sodium calcium aluminosilicate (HSCAS) is a mycotoxin adsorbent, that has high affinity and specificity for aflatoxin B1 (AFB1). HSCAS has been added to animal feed for adsorption of AFB1 and prevention of aflatoxicosis in livestocks. Recently, HSCAS has also been modified for using in an analysis of AFB1 in feed. Aflatoxin M1 (AFM1) is a toxic metabolite of AFB1 and found in milk of mammals. The surveillance of AFM1 concentration in cow's milk is necessary for public health. At present, we still import test kits used for AFM1 analysis which are costly. A domestically-developed test kit will be more economical. Therefore, the purposes of our experiments were to determine the adsorption of AFM1 by HSCAS and to find out the suitable solvent to extract AFM1 adsorbed to HSCAS. The results from this experiment are preliminary data to develop test kit for extraction of AFM1 in raw milk and milk products in the future. The study was divided into two parts. For the first part, it was found that concentration 10 ppb of AFM1 in deionized water were adsorbed by HSCAS. HSCAS 0.5 gram (g), 1.0-2.0 g, and 3.0-4.0 g could adsorb AFM1 about 90%, more than 96% and 100%, respectively. Furthermore, artificially-contaminated AFM1 at the concentration of 0.5 ppb in raw milk was mixed with various amounts of HSCAS. HSCAS 0.5-0.75 g, 1.0-2.0 g, and 3.0-4.0 g could adsorb AFM1 about 95%, 98%, and 100%, respectively. The amounts of HSCAS 2.8 and 3.0 g in deionized water including these of HSCAS 2.0 and 3.0 g in raw milk are significantly different in the AFM1 adsorbent capacity (P<0.05). Ratios of AFM1 to the amount of HSCAS in deionized water and raw milk are 33.33 ng/g and 8.33 ng/g, respectively. For the second part, the result showed that only the mixed solvent of H2O:Methanol:Acetonitrile (57:23:20) had the hightest efficiency to extract AFM1 from HSCAS. At 40ํC and extraction to 15 min, this is proved to be the best condition for extraction. Ratio of the mixed solvent to HSCAS at 5:1 has the highest % recovery (32.00%). Additionly, 21.73% and 14.80% which are % recovery of the mixed solvent to HSCAS at 4:1 and 3:1, respectively. The present study can conclude that HSCAS was efficient in adsorption of AFM1 in raw milk and the mixed solvent of H2O:Methanol:Acetonitrile (57:23:20) was able to extract AFM1 from the adsorption to HSCAS. 2006-09-18T03:12:51Z 2006-09-18T03:12:51Z 2545 Thesis 9741714114 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2559 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1613429 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย