การสร้างโปรแกรมการฝึกอบรมเรื่อง "การนิเทศแบบคลีนิค" สำหรับครูระดับมัธยมศึกษา
วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2526
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2012
|
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25907 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.25907 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
description |
วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2526 |
author2 |
นิพนธ์ ไทยพานิช |
author_facet |
นิพนธ์ ไทยพานิช สมาน อัศวภูมิ |
format |
Theses and Dissertations |
author |
สมาน อัศวภูมิ |
spellingShingle |
สมาน อัศวภูมิ การสร้างโปรแกรมการฝึกอบรมเรื่อง "การนิเทศแบบคลีนิค" สำหรับครูระดับมัธยมศึกษา |
author_sort |
สมาน อัศวภูมิ |
title |
การสร้างโปรแกรมการฝึกอบรมเรื่อง "การนิเทศแบบคลีนิค" สำหรับครูระดับมัธยมศึกษา |
title_short |
การสร้างโปรแกรมการฝึกอบรมเรื่อง "การนิเทศแบบคลีนิค" สำหรับครูระดับมัธยมศึกษา |
title_full |
การสร้างโปรแกรมการฝึกอบรมเรื่อง "การนิเทศแบบคลีนิค" สำหรับครูระดับมัธยมศึกษา |
title_fullStr |
การสร้างโปรแกรมการฝึกอบรมเรื่อง "การนิเทศแบบคลีนิค" สำหรับครูระดับมัธยมศึกษา |
title_full_unstemmed |
การสร้างโปรแกรมการฝึกอบรมเรื่อง "การนิเทศแบบคลีนิค" สำหรับครูระดับมัธยมศึกษา |
title_sort |
การสร้างโปรแกรมการฝึกอบรมเรื่อง "การนิเทศแบบคลีนิค" สำหรับครูระดับมัธยมศึกษา |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2012 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25907 |
_version_ |
1681412828136734720 |
spelling |
th-cuir.259072013-07-17T16:31:48Z การสร้างโปรแกรมการฝึกอบรมเรื่อง "การนิเทศแบบคลีนิค" สำหรับครูระดับมัธยมศึกษา A construction of an in-service training program on "Clinical Supervision" for secondary school trachers สมาน อัศวภูมิ นิพนธ์ ไทยพานิช จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2526 การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพของโปรแกรมการฝึกอบรมเรื่อง “ การนิเทศแบบคลีนิค “ สำหรับครูระดับมัธยมศึกษา โปรแกรมการฝึกอบรมชุดนี้ประกอบด้วยโปรแกรมย่อย 3 โปรแกรม ซึ่งสอดคล้องกับเนื้อหาของหลักสูตรการฝึกอบรม ซึ่งมี 3 หน่วยด้วยกันคือ ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการจัดการนิเทศการศึกษา ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการนิเทศแบบคลีนิค และความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับขั้นตอนในการจัดการนิเทศแบบคลีนิก และได้ประยุกต์เทคนิคในการจัดการเรียนการสอนแบบโปรแกรมมาใช้เป็นสื่อการจัดการเรียนการสอนในการฝึกอบรม คือ สไลด์ – เทป โปรแกรม ไมโครเลคเชอร์โปรแกรมและแบบเรียนโปรแกรม ส่วนประกอบของโปรแกรมการฝึกอบรมชุดนี้มี 3 อย่างคือ ( 1 ) แบบทดสอบ ซึ่งได้รับการตรวจแก้จากผู้เชี่ยวชาญ 6 ท่าน ปรับปรุงแก้ไขตามคำแนะนำของผู้เชี่ยวชาญ และได้นำไปทดลองใช้ก่อนนำไปใช้ในการทดสอบก่อน และหลังการฝึกอบรมของโปรแกรมการฝึกอบรมแต่ละชุด ( 2 ) สื่อการเรียนการสอนในแต่ละโปรแกรมย่อยได้แก่ โปรแกรมชุดที่ 1: สไลด์ – เทป โปรแกรมซึ่งประกอบด้วย สไลด์ 65 เฟรม เทปคำบรรยาย 1 ม้วน กระดาษคำตอบสำหรับแบบฝึกหัด 1 ฉบับ และสำเนาคำบรรยาย 1 ฉบับ โปรแกรมชุดที่ 2: ไมโครเลคเชอร์โปรแกรม ประกอบด้วยแผ่นใส 40 แผ่น เทปคำบรรยาย 1 ม้วน กระดาษบันทึกคำบรรยายและทำแบบฝึกหัด 1 ฉบับ และสำเนาคำบรรยาย 1 ฉบับ และโปรแกรมที่3 ประกอบด้วยแบบเรียนโปรแกรม 1 เล่ม และกระดาษคำตอบสำหรับแบบฝึกหัด 1 ฉบับ และ ( 3 ) คู่มือการใช้โปรแกรมการฝึกอบรมโปรแกรมการฝึกอบรม โปรแกรมการฝึกอบรมชุดนี้ได้ทำการทดลองขั้น รายบุคคลกับครูหนึ่งคน และขั้นกลุ่มย่อยกับครู 10 คน เพื่อวัตถุประสงค์ในการปรับปรุงแก้ไขโปรแกรม หลักจากนั้นได้มีการทดลองภาคสนามกับครูระดับมัธยมศึกษาที่สังกัดกรมสามัญศึกษา แระทรวงศึกษาธิการจำนวน 30 คน ผลการทดลองปรากฏว่าโปรแกรมการฝึกอบรมมีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่ตั้งไว้ คือ 70/70 เกณฑ์ 70 ตัวแรกหมายถึงคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 70 ของคะแนนซึ่งครูที่รับการฝึกอบรมทำได้ จากการทำแบบฝึกหัดของโปรแกรมการฝึกอบรม และเกณฑ์ 70 ตัวหลัง หมายถึงคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 70 ของคะแนนทดสอบหลังการฝึกอบรม ส่วนการทดสอบความมีนัยสำคัญของคะแนนเฉลี่ยก่อนและหลังการฝึกอบรม ปรากฏว่ามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 โดยการทดสอบค่าที ( t – test ) ข้อเสนอแนะ ควรมีการวิจัยและพัฒนาชุดการฝึกทักษะในการจัดการนิเทศแบบคลีนิค ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในการฝึกอบรมผู้ที่จะทำหน้าที่เป็นผู้นิเทศคลีนิคต่อเนื่องกับโปรแกรมการฝึกอบรมชุดนี้ The purposes of this study were to construct and find the effectiveness of the In-service Training Program on “Clinical Supervision” for Secondary School Teachers. The program was divided into three subprograms and three programmed instruction techniques were adapted and applied to facilitate the training activities. A Program med slide-tape was used for the first subprogram which was on “An Overview of Educational Supervision”; a programmed micro-lecture for the second on “An Introduction to Clinical Supervision”; and a programmed textbook was used for the third one which was on “An Introduction to a Model of Clinical Supervision”. And the whole set of the program was composed of a pre and post test, which had been scrutinized by six specialists, revised and tried out, for each subprogram; a programmed slide-tape which included 65 slides, a cassette tape, an exercise-answer sheet, and a script; a programmed micro-lecture 40 transparency sheets, a cassette tape, a lecture-note and exercise-answer sheet, and a script; a programmed textbook which was consisted of a programmed textbook and an exercise-answer sheet; and a guideline for implementing the program. The program was tried out individually, first with one teacher and then with a group of ten for the purpose of revising. After the program had been revised, field testing was carried out with thirty secondary school teachers in the General Education Department, Ministry of Education. Results showed that the efficiency of the program was higher than the 70/70 standard. The first 70 standard refers to an average score of seventy percent on the program lesson exercise obtained by the teachers and the second refers to an average score of seventy percent on the post test. The difference between pre and post-test score on the t-test was highly significant at the 0.01 level. It is further suggested that skill-building packages relating to clinical supervision management should be developed and researched, which would be useful for clinical supervisor training in addition to this program. 2012-11-25T11:32:40Z 2012-11-25T11:32:40Z 2526 Thesis 9745626422 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25907 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 487710 bytes 588744 bytes 1919068 bytes 594753 bytes 474281 bytes 624882 bytes 4306984 bytes application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |