การทดลองรักษาโรค Eperythrozoonosis ในสุกรที่แสดงอาการทางคลีนิคด้วยยา Imidocarb
การสำรวจอุบัติการของโรค eperythrozoonosis ในสุกรที่แสดงอาการทางคลีนิค -- การทดลอง รักษาโรค eperythrozoonosis ด้วยยา imidocarb ในลูกสุกรเล็ก -- ผลของยา imidocarb ต่อสุกรตัดม้ามอายุต่างๆ ที่ติดเชื้อ eperythrozoon -- ข้อสังเกตจากการสำรวจเชื้อ eperythrozoon ในฟาร์มสุกร...
Saved in:
Main Authors: | , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Technical Report |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2006
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2611 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.2611 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
สุกร--โรค เอ็พเอริทโธรซูนโอซิส |
spellingShingle |
สุกร--โรค เอ็พเอริทโธรซูนโอซิส สุพล เลื่องยศลือชากุล สุวรรณี นิธิอุทัย การทดลองรักษาโรค Eperythrozoonosis ในสุกรที่แสดงอาการทางคลีนิคด้วยยา Imidocarb |
description |
การสำรวจอุบัติการของโรค eperythrozoonosis ในสุกรที่แสดงอาการทางคลีนิค -- การทดลอง รักษาโรค eperythrozoonosis ด้วยยา imidocarb ในลูกสุกรเล็ก -- ผลของยา imidocarb ต่อสุกรตัดม้ามอายุต่างๆ ที่ติดเชื้อ eperythrozoon -- ข้อสังเกตจากการสำรวจเชื้อ eperythrozoon ในฟาร์มสุกร |
author2 |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์. ภาควิชาอายุรศาสตร์ |
author_facet |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์. ภาควิชาอายุรศาสตร์ สุพล เลื่องยศลือชากุล สุวรรณี นิธิอุทัย |
format |
Technical Report |
author |
สุพล เลื่องยศลือชากุล สุวรรณี นิธิอุทัย |
author_sort |
สุพล เลื่องยศลือชากุล |
title |
การทดลองรักษาโรค Eperythrozoonosis ในสุกรที่แสดงอาการทางคลีนิคด้วยยา Imidocarb |
title_short |
การทดลองรักษาโรค Eperythrozoonosis ในสุกรที่แสดงอาการทางคลีนิคด้วยยา Imidocarb |
title_full |
การทดลองรักษาโรค Eperythrozoonosis ในสุกรที่แสดงอาการทางคลีนิคด้วยยา Imidocarb |
title_fullStr |
การทดลองรักษาโรค Eperythrozoonosis ในสุกรที่แสดงอาการทางคลีนิคด้วยยา Imidocarb |
title_full_unstemmed |
การทดลองรักษาโรค Eperythrozoonosis ในสุกรที่แสดงอาการทางคลีนิคด้วยยา Imidocarb |
title_sort |
การทดลองรักษาโรค eperythrozoonosis ในสุกรที่แสดงอาการทางคลีนิคด้วยยา imidocarb |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2006 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2611 |
_version_ |
1681411844062838784 |
spelling |
th-cuir.26112007-12-26T07:31:46Z การทดลองรักษาโรค Eperythrozoonosis ในสุกรที่แสดงอาการทางคลีนิคด้วยยา Imidocarb Attempted to a treatment of swine eperythrozoonosis with imidocarb สุพล เลื่องยศลือชากุล สุวรรณี นิธิอุทัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์. ภาควิชาอายุรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์. ภาควิชาพยาธิวิทยา สุกร--โรค เอ็พเอริทโธรซูนโอซิส การสำรวจอุบัติการของโรค eperythrozoonosis ในสุกรที่แสดงอาการทางคลีนิค -- การทดลอง รักษาโรค eperythrozoonosis ด้วยยา imidocarb ในลูกสุกรเล็ก -- ผลของยา imidocarb ต่อสุกรตัดม้ามอายุต่างๆ ที่ติดเชื้อ eperythrozoon -- ข้อสังเกตจากการสำรวจเชื้อ eperythrozoon ในฟาร์มสุกร สุกรรุ่นตัดม้ามอายุ 4 เดือน ขนาดน้ำหนัก 35-40 กก. จำนวน 3 ตัว เมื่อเลี้ยงไว้ในพื้นที่ที่มีการพบเชื้อริกเก็ตเซีย eperythrozoon อย่างชุกชุมจะมีโอกาสติดโรคได้ตามธรรมชาติ แต่สุกรสามารถขจัดเชื้อได้เองและเติบโตตามปกติโดยไม่แสดงอาการป่วย ในขณะที่เมื่อทดลองกับสุกรเล็กตัดม้าม อายุ 2 เดือน ขนาดน้ำหนัก 15 กก. 1 ตัว ให้ได้รับการฉีดเชื้อจะสามารถพบเชื้อในกระแสโลหิตในสัปดาห์ที่ 2 หลังฉีด โดยทั่วไปแล้วสัตว์จะแสดงอาการป่วยเพียงเล็กน้อย ตรวจพบเชื้อในกระแสโลหิตไปจนถึงสัปดาห์ที่ 12 จึงสามารถขจัดเชื้อได้จนหมดสิ้น สัตว์เติบโตค่อนข้างปกติ สำหรับสุกรอนุบาลตัดม้ามเมื่ออายุ 6 สัปดาห์ น้ำหนักเฉลี่ย 8.8 กก. จำนวน 15 ตัว ที่ได้รับการฉีดเชื้อในปปริมาณมากจะแสดงอาการของโรคอย่างรุนแรงและชัดเจนใกล้เคียงกับอาการของโรคอหิวาต์สุกรคือ มีสภาพโลหิตจางและดีซ่าน ไข้สูง นอนสุมกัน เดินโซเซ ต่อมน้ำเหลืองบวม เมื่อเปิดผ่าซากพบลักษณะ icteroanemia ในอวัยวะภายในทุกส่วน ค่าโลหิตวิทยาเป็นลักษณะของโลหิตจ่างบอย่างรุนแรง ค่าเม็ดเลือดขาวรวมสูงขึ้นและพบเชื้ออย่างมากเมื่อย้อมด้วยสีย้อม Giemsa การฉีดรักษาด้วยยา imidocarb dipropionate ในขนาด 5 มก./กก. น้ำหนักตัว เมื่อสัตว์แสดงอาการถึงที่สุดพบว่า ไม่สามารถยับยั้งความเสียหายๆด้ โดยสุกรจะตายต่อไปอีกหลายวัน จนกระทั่งถึงสัปดาห์ที่6 หลังจากฉีดให้การรักษายังคงตรวจพบเชื้อได้ ลูกสุกรดูดนมและสุกรเล็กอายุระหว่าง 2-5 สัปดาห์ จำนวน 148ตัว จากฟาร์มเกษตรกร 4 ฟาร์มในจังหวัดนครปฐมที่ตรวจพบการติดเชื้อริกเก็ตเซีย eperythrozoon ตามธรรมชาติในระดับตรวจพบได้จนถึงพบเชื้อปานกลาง (+ จนถึง +++) ได้รับการฉีดรักษาด้วยยา imidocarb dipropionate เข้าใต้หนังขาหลังในขนาด 5 มก./กก. น้ำหนักสุกร หลังจากการฉีดรักษาเป็นเวลา 1 สัปดาห์ ได้เจาะเลือดย้อมสี Giemsa's stain เพื่อตรวจหาการลดปริมาณของเชื้อบนเม็ดโลหิตแดง เฉพาะในฟาร์มที่ 4 ได้เจาะตรวจซ้ำอีกครั้งในสัปดาห์ที่ 3 หลังจากฉีด ผลปรากฏว่าในสัปดาห์ที่ 1 หลังจากฉีดมีจำนวนสุกรเพียง 37.16% ที่พบว่ามีระดับปริมาณการติดเชื้อลดลง ซึ่งแยกเป็นจำนวนที่บ่งถึงประสิทธิภาพของยาในระดับออกฤทธิ์ดี 0.68% ประสิทธิภาพปานกลาง 7.43 และประสิทธิภาพพอใช้ 29.05% และผลของการตรวจในฟาร์มที่ 4 เมื่อ 3 สัปดาห์หลังจากฉีดพบว่าจำนวนสุกรที่ได้ผลเพิ่มขึ้นเป็น 72.13% ซึ่งแบ่งเป็นประสิทธิภาพปานกลาง 22.95% และประสิทธิภาพพอใช้ 49.18% อย่างไรก็ตามลูกสุกรทุกตัวที่ศึกษา แม้ยังคงพบที่มีระดับการติดเชื้อในเม็ดโลหิตแดงหลังจากฉีดยารักษาแล้วก็ยังสามารถเจริญเติบโตต่อไปได้อย่างปกติ A total number of 148 suckling and weaning piglets at the age between 335 weeks from 4 breeding farms in area of Nakhon Pathom province, which found infected with eperythrozoon verying from slightly to moderate, were injected subcutaneously with imidocarb dipropionate at dosage of 5 mg/kg b.w.. One week after treatment the hematologic examination staining with Giemsa's stain showed slight to moderate levels of decreasing of blood rickettsia, in 37.16% of total number of piglets. Of which only 0.68% with good, 7.43% with satisfy anf 29.05% with only remarkable rusults, Only the fourth farm was examined again two weeks later. The number of piglets responsing to treatment increased up to 72.13% of which 22.95% with satisfy and 49.18% with remarkable results. However all the investigated piglets, even ones with persistent of blood rickettsia after treatment, still developed a normal growth rate under such condition. จากจำนวนตัวอย่างเลือดสุกรเล็กอายุต่างๆ และสุกรแม่พันธุ์รวม 177 ตัวอย่าง จาก 19 ฟาร์มในเขตจังหวัดนครปฐมและราชบุรีที่เก็ยซากสุกรป่วยแสดงอาการทางคลีนิคสัมพันธ์กับอาการของโรค eperythrozoonosis พบว่าเมื่อย้อมโดยสี Giemsa stain ได้ให้ผลบวกสูงถึงร้อยละ 95.47 โดยแบ่งออกเป็นร้อยละ 90.39 ที่สามารถพบเชื้อในระดับความรุนแรง + ถึง +++ ในขณะที่มีเพียง ร้อยละ 5.08 ที่สามารถพบเชื้อในระดับความรุนแรง +++ ถึง ++++ ซึ่งผลการศึกษาสำรวจในปี พ.ศ. 2530-2531 นี้สอดคล้องกับการศึกษาอื่นที่ไดศึกษาในปี พ.ศ. 2527 และ 2529 ในพื้นที่ใกล้เคียงกัน 177 blood samples obtained from piglets and breeding sows with clinical signs related to eperythrozoonosis from 19 farms in areas of Nakhon Pathom and Ratchaburi during June 1987-May 1988 reveals a high percentage of 95.47 finding the blood rickettsia, eperythrozoon. Sharing to 90.39% with low infection (+ to ++) and 5.08% with high infection (+++ to ++++). This result does agree with the previous studies year 1984 and 1986 by other authers done in peripheral areas. ทุนวิจัยงบประมาณแผ่นดิน ปี 2530 2006-09-19T02:49:46Z 2006-09-19T02:49:46Z 2530 Technical Report 9745869509 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2611 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 19842970 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |