การเข้าร่วมกลุ่มช่วยเหลือตัวเองกับพฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์

วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: ปิยนุช สายสุขอนันต์
Other Authors: สุวัฒนา วิบูลย์เศรษฐ์
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: 2012
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26562
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.26562
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
description วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546
author2 สุวัฒนา วิบูลย์เศรษฐ์
author_facet สุวัฒนา วิบูลย์เศรษฐ์
ปิยนุช สายสุขอนันต์
format Theses and Dissertations
author ปิยนุช สายสุขอนันต์
spellingShingle ปิยนุช สายสุขอนันต์
การเข้าร่วมกลุ่มช่วยเหลือตัวเองกับพฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์
author_sort ปิยนุช สายสุขอนันต์
title การเข้าร่วมกลุ่มช่วยเหลือตัวเองกับพฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์
title_short การเข้าร่วมกลุ่มช่วยเหลือตัวเองกับพฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์
title_full การเข้าร่วมกลุ่มช่วยเหลือตัวเองกับพฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์
title_fullStr การเข้าร่วมกลุ่มช่วยเหลือตัวเองกับพฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์
title_full_unstemmed การเข้าร่วมกลุ่มช่วยเหลือตัวเองกับพฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์
title_sort การเข้าร่วมกลุ่มช่วยเหลือตัวเองกับพฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์
publishDate 2012
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26562
_version_ 1681412155441676288
spelling th-cuir.265622013-12-04T09:22:29Z การเข้าร่วมกลุ่มช่วยเหลือตัวเองกับพฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ Self-help group participation and AIDS preventive behavior ปิยนุช สายสุขอนันต์ สุวัฒนา วิบูลย์เศรษฐ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วิทยาลัยประชากรศาสตร์ วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการเข้าร่วมกลุ่มช่วยเหลือตนเองกับการรับรู้เรื่องการป้องกันโรคเอดส์และพฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ของผู้ติดเชื้อเอชไอวี เลือกตัวอย่างแบบเจาะจง จำนวนทั้งสิ้น 400 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยให้กลุ่มตัวอย่างตอบแบบสอบถามด้วยตนเอง ตัวแปรการรับรู้เรื่องการป้องกันโรคเอดส์ ประกอบด้วยตัวแปรย่อย 4 ตัวแปร ได้แก่ การรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคเอดส์ การรับรู้ความรุนแรงของโรคเอดส์ การรับรู้ประโยชน์ของการป้องกันโรคเอดส์ และการรับรู้อุปสรรคของการป้องกันโรคเอดส์ และตัวแปรพฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ประกอบด้วย ตัวแปรย่อย 2 ตัวแปร ได้แก่ พฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ระดับปฐมภูมิและพฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ระดับทุติยภูมิ ตัวแปรแต่ละตัวสร้างจากข้อคำถามที่ได้ผ่านการทดสอบความน่าเชื่อถือ (Reliability) โดยการคำนวณหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา (alpha-coefficient) ด้วยวิธีของครอนบาซ (cronbach) และหาความเที่ยงตรง (Validity) ว่าสามารถนำมาใช้เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างได้ การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการเข้าร่วมกลุ่มช่วยเหลือตนเองกับการรับรู้เรื่องการป้องกันโรคเอดส์ และพฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ เมื่อนำภูมิหลังของประชากรมาเป็นตัวแปรคุม โดยการวิเคราะห์การจำแนกพหุ พบว่า ความสัมพันธ์เป็นไปตามสมมุติฐานที่ตั้งไว้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยที่การเข้าร่วมกลุ่มช่วยเหลือตนเองร่วมกับภูมิหลังของประชากร สามารถอธิบายความผันแปรของการรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคเอดส์ได้ร้อยละ 18.4, การรับรู้ความรุนแรงของโรคเอดส์ได้ร้อยละ 8.2, การรับรู้ประโยชน์ของการป้องกันโรคเอดส์ได้ร้อยละ 12.3 และการรับรู้อุปสรรคของการป้องกันโรคเอดส์ได้ร้อยละ 13.6 และการเข้าร่วมกลุ่มช่วยเหลือตนเองร่วมกับภูมิหลังของประชากร และการรับรู้เรื่องการป้องกันโรคเอดส์ สามารถอธิบายความผันแปรของพฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ระดับปฐมภูมิได้ร้อยละ 42.0 และอธิบายความผันแปรของพฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์ระดับทุติยภูมิได้ร้อยละ 25.4 The main objective of this study was to investigate relationship between self-help group participation, perceptive of AIDS prevention and AIDS preventive behavior of HIV seropositive clients. The total sample of 400 HIV seropositive clients who participated and did not participate in self-help group were purposively selected. Data collection was made through the use of questionnaire with an informed consent. Perceptive of AIDS prevention were measured by four indicators 1) perceived threat 2) perceived severity 3) perceived benefits 4) perceived barriers. Two indicators of AIDS preventive behavior are 1) primary AIDS preventive behavior and 2) secondary AIDS preventive behavior. These indicators have been tested for their validity and reliability by cronbach alpha-coefficientcy. The test results reveal that all indicators are acceptable measures of perceptive 0fAlDS prevention and AIDS preventive behavior. Multiple Classification Analysis (MCA) were utilized to investigate the correlation between self-help group participation, perceptive of AlDS prevention and AIDS preventive behavior of HIV seropositive clients. It was found that self-help group participation significantly affected differentials in perceptive of AIDS prevention and AIDS preventive behavior of HIV seropositive clients as hypothesized. By adding demographic and socio-economic characteristics of clients, it was found that self-help group participation can explain 18.4 percent of the changes in perceived threat. 8.2 percent in perceived severity, 12.3 percent in perceived benefits and 13.6 percent in perceived barriers. It was also found that self-help group participation, demographic socio-economic variables and health belief can explain 42.0 percent of the changes in primary AIDS preventive behavior and 25.4 percent in secondary AIDS preventive behavior. 2012-11-28T06:26:48Z 2012-11-28T06:26:48Z 2546 Thesis 9741740654 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26562 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2823789 bytes 9281591 bytes 6252394 bytes 10537071 bytes 3948792 bytes 9955912 bytes application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf