ปี่ชวาในงานพระราชพิธี

วิทยานิพนธ์ (ศป.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: ภัทระ คมขำ
Other Authors: ขำคม พรประสิทธิ์
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2012
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26839
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.26839
record_format dspace
spelling th-cuir.268392013-08-22T02:13:40Z ปี่ชวาในงานพระราชพิธี Pee Chawa in court rituals ภัทระ คมขำ ขำคม พรประสิทธิ์ ปี๊บ คงลายทอง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะศิลปกรรมศาสตร์ วิทยานิพนธ์ (ศป.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 ปี่ชวา เป็นเครื่องดนตรีที่ใช้ประกอบในงานพระราชพิธี มีปรากฏหลักฐานทางเอกสารว่าถูกนำเข้ามาใช้ในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น การถ่ายทอดการเป่าปี่ชวาในงานพระราชพิธี ไม่มีระบบการถ่ายทอดที่เป็นระเบียบแบบแผนอย่างชัดเจน มีเพียงการถ่ายทอดเพลงสำคัญที่จะต้องใช้ในงานพระราชพิธี โดยชี้แนวทางของการเป่าปี่ในช่วงต่างๆ ซึ่งผู้เป่าปี่ก็จะต้องมีความรู้เรื่องขั้นตอนของพระราชพิธีประกอบกันไปด้วย โดยมีการถ่ายทอดกันระหว่างผู้ที่ปฏิบัติหน้าที่จนชำนาญ แล้วถ่ายทอดให้ผู้ที่เข้ามาปฏิบัติงานใหม่ โดยส่วนใหญ่ผู้ที่เข้ามาปฏิบัติหน้าที่ในงานพระราชพิธี ก็จะมีพื้นฐานของการเป่าปี่ชวามาก่อนแล้ว ดังนั้นระบบการถ่ายทอดจึงเป็นเพียงการชี้แนวทางของการนำไปใช้ในงานพระราชพิธี โดยปัจจุบันพระราชพิธีที่มีปี่ชวาเข้าไปประกอบการประโคม จำนวน 2 พระราชพิธี การนำปี่ชวามาใช้ในขั้นตอนของงานพระราชพิธี ปัจจุบันนั้นแบ่งเป็น 2 รูปแบบ ได้แก่ รูปแบบของการประโคมดนตรีการจัดตั้งเป็นกระบวนพยุหยาตราโดยที่ปี่ชวาเป็นผู้เป่าดำเนินทำนอง และให้กลองชนะจัดตั้งเป็นกระบวนและมีกลองสองหน้าหนึ่งในเป็นผู้ตีนำ กับรูปแบบของการจัดตั้งเป็นเครื่องบรรเลงโดยมีปี่ชวาเป่าดำเนินทำนองและใช้กลองแขกเป็นผู้กำหนดจังหวะหน้าทับ ส่วนของบทเพลงที่ถูกนำมาใช้เป็นเพลงประเภทสองชั้นสั้นๆ ที่มีสำนวนการดำเนินทำนองในลักษณะเดียวกันเพื่อสามารถเชื่อมเข้าหากันระหว่างบทเพลงได้อย่างต่อเนื่องไม่ให้เสียงขาดหายไป ระหว่างขั้นตอนการปฏิบัติงานพระราชพิธี Pee Chawa is a musical instrument that was used court rituals. There is evidence that Indicates it was initially used starting in the early Ayudhuay era. The transfer or passing down of the Pee Chaw playing methods was not systematic. Only the Important song used in court rituals have been passed down from generation to generation. The Pee Chawa Player must know the sequence of events of the entire ritual. Most new players have competent skills in playing the instrument, but need to learn the sequence and timing of the rituals. In today's society, the Pee Chawa is only used in two rituals and there are two playing styles. First the Pee Chawa is accompanied by two drum : Klong Song Na. The latter is the leading drum. The second style consists of the Pee Chawa accompanied by a pair of Klong Kheaks. The Klong Kheaks play a rhythmic pattern called Chang Wa Na Tub. A few short music pieces are played one after the other in a similar style to provide continuity during the entire court ritual. 2012-11-29T03:50:44Z 2012-11-29T03:50:44Z 2546 Thesis 9741757263 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26839 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1941497 bytes 2243709 bytes 13175554 bytes 6575583 bytes 13275117 bytes 1569552 bytes 2670861 bytes application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
description วิทยานิพนธ์ (ศป.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546
author2 ขำคม พรประสิทธิ์
author_facet ขำคม พรประสิทธิ์
ภัทระ คมขำ
format Theses and Dissertations
author ภัทระ คมขำ
spellingShingle ภัทระ คมขำ
ปี่ชวาในงานพระราชพิธี
author_sort ภัทระ คมขำ
title ปี่ชวาในงานพระราชพิธี
title_short ปี่ชวาในงานพระราชพิธี
title_full ปี่ชวาในงานพระราชพิธี
title_fullStr ปี่ชวาในงานพระราชพิธี
title_full_unstemmed ปี่ชวาในงานพระราชพิธี
title_sort ปี่ชวาในงานพระราชพิธี
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2012
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26839
_version_ 1681413694944182272