การศึกษาเปรียยต่างกลวิธีการขอร้องในภาษาญี่ปุ่นและภาษาไทย
วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2006
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2722 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.2722 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cuir.27222008-05-06T12:30:11Z การศึกษาเปรียยต่างกลวิธีการขอร้องในภาษาญี่ปุ่นและภาษาไทย Contrastive study of request strategies in Japanese and Thai อาภาภรณ์ เดชวิจารณ์กิจ, 2522- วรวุฒิ จิราสมบัติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์ ภาษาไทย--การใช้ภาษา ภาษาญี่ปุ่น--การใช้ภาษา วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบต่างโครงสร้างและกลวิธีการขอร้องในภาษาญี่ปุ่นและภาษาไทย รวมถึงความสัมพันธ์ของปัจจัยเรื่องสถานภาพทางสังคม ความสนิทสนมของผู้พูดและผู้ฟัง และความหนักเบาของเนื้อหาการขอร้องกับโครงสร้างและกลวิธีการขอร้อง โดยข้อมูลที่นำมาใช้ในการวิเคราะห์มาจากบทสนทนาจากสถานการณ์จริง และบทสนทนาจากสถานการณ์สมมติของกลุ่มตัวอย่างชาวญี่ปุ่นและกลุ่มตัวอย่างชาวไทย จำนวนกลุ่มละ 10 คู่ ผลการศึกษาพบว่า ในภาษาญี่ปุ่นมีรูปแบบโครงสร้างการขอร้อง 4 รูปแบบ ได้แก่ 1. รูปแบบโครงสร้างที่ประกอบด้วยส่วนหลักเพียงอย่างเดียว 2. รูปแบบโครงสร้างที่ประกอบด้วยส่วนขยายแล้วตามด้วยส่วนหลัก 3. รูปแบบโครงสร้างที่ประกอบด้วยส่วนขยายตามด้วยส่วนหลักและตามด้วยส่วนขยาย 4. รูปแบบโครงสร้างที่ประกอบด้วยส่วนขยายเพียงอย่างเดียว ในขณะที่พบรูปแบบโครงสร้างการขอร้องในภาษาไทย 5 รูปแบบ คือ พบรูปแบบโครงสร้างที่ประกอบด้วยส่วนหลักแล้วตามด้วยส่วนขยาย เพิ่มเติมจากรูปแบบโครงสร้าง 4 รูปแบบที่กล่าวมาข้างต้น โดยรูปแบบโครงสร้างที่ประกอบด้วยส่วนขยายแล้วตามด้วยส่วนหลักเป็นรูปแบบโครงสร้างการขอร้องที่ผู้พูดภาษาญี่ปุ่นและผู้พูดภาษาไทยเลือกใช้มากที่สุด สำหรับกลวิธีการขอร้องในภาษาญี่ปุ่นและภาษาไทยพบว่า สามารถแบ่งออกเป็น 3 กลวิธี ได้แก่ 1. กลวิธีแบบตรง 2. กลวิธีแบบอ้อมตามธรรมเนียมปฏิบัติ 3. กลวิธีแบบอ้อมไม่ใช่ตามธรรมเนียมปฏิบัติ โดยที่กลวิธีแบบอ้อมตามธรรมเนียมปฏิบัติเป็นกลวิธีที่ผู้พูดภาษาญี่ปุ่นนิยมใช้มากที่สุด ในขณะที่กลวิธีแบบตรงเป็นกลวิธีที่ผู้พูดภาษาไทยเลือกใช้มากที่สุด ส่วนกลวิธีแบบอ้อมไม่ใช่ตามธรรมเนียมปฏิบัติเป็นกลวิธีที่ผู้พูดภาษาญี่ปุ่นและผู้พูดภาษาไทยเลือกใช้น้อยที่สุด นอกจากนี้พบว่า ปัจจัยเรื่องสถานภาพทางสังคม ความสนิทสนมของผู้พูดและผู้ฟัง และความหนักเบาของเนื้อหาการขอร้องมีบทบาทต่อการเลือกใช้รูปแบบโครงสร้างและกลวิธีการขอร้อง โดยที่ผู้พูดภาษาญี่ปุ่นและผู้พูดภาษาไทยจะเลือกใช้รูปแบบโครงสร้างการขอร้องและกลวิธีการขอร้องแตกต่างกันไปตามความเหมาะสมของแต่ละปัจจัย The aim of this study was to examine and compare request strategies in Japanese and Thai, and the relationship between request structures and strategies and social status, distance of the interlocutors and the degree of imposition. The data consisted of naturally occuring conversations and the conversations roleplayed by 10 pairs of Japanese speakers and 10 pairs of Thai speakers. The findings of the study indicated that Japanese speakers used 4 types of request structures: 1. Head Act only 2. Supportive Move(s) + Head Act 3. Supportive Move(s) + Head Act + Supportive Move(s) 4. Supportive Move(s) only. While there were 5 types of request structures in Thai consisting of the 4 previous structures and "Head Act + Supportive Move(s)" which was not found in Japanese. "Supportive Move(s) + Head Act" was mostly used by both Japanese and Thai speakers. For request strategies in both Japanese and Thai, the findings indicated 3 different strategies: 1. Direct 2. Conventional indirect 3. Non-conventional indirect Conventional indirect was most often used by Japanese speakers. Whereas, most of Thai speakers used direct. Non-conventional indirect was least used among both Japanese and Thai speakers. Moreover, social status, distance of the interlocutors and the degree of imposition played the important roles to both Japanese and Thai speakers' decision of choosing request structures and strategies, which were distinguished by each factor. 2006-09-22T04:47:39Z 2006-09-22T04:47:39Z 2547 Thesis 9745313505 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2722 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1363443 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
ภาษาไทย--การใช้ภาษา ภาษาญี่ปุ่น--การใช้ภาษา |
spellingShingle |
ภาษาไทย--การใช้ภาษา ภาษาญี่ปุ่น--การใช้ภาษา อาภาภรณ์ เดชวิจารณ์กิจ, 2522- การศึกษาเปรียยต่างกลวิธีการขอร้องในภาษาญี่ปุ่นและภาษาไทย |
description |
วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 |
author2 |
วรวุฒิ จิราสมบัติ |
author_facet |
วรวุฒิ จิราสมบัติ อาภาภรณ์ เดชวิจารณ์กิจ, 2522- |
format |
Theses and Dissertations |
author |
อาภาภรณ์ เดชวิจารณ์กิจ, 2522- |
author_sort |
อาภาภรณ์ เดชวิจารณ์กิจ, 2522- |
title |
การศึกษาเปรียยต่างกลวิธีการขอร้องในภาษาญี่ปุ่นและภาษาไทย |
title_short |
การศึกษาเปรียยต่างกลวิธีการขอร้องในภาษาญี่ปุ่นและภาษาไทย |
title_full |
การศึกษาเปรียยต่างกลวิธีการขอร้องในภาษาญี่ปุ่นและภาษาไทย |
title_fullStr |
การศึกษาเปรียยต่างกลวิธีการขอร้องในภาษาญี่ปุ่นและภาษาไทย |
title_full_unstemmed |
การศึกษาเปรียยต่างกลวิธีการขอร้องในภาษาญี่ปุ่นและภาษาไทย |
title_sort |
การศึกษาเปรียยต่างกลวิธีการขอร้องในภาษาญี่ปุ่นและภาษาไทย |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2006 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2722 |
_version_ |
1681412475634843648 |