การใช้ที่ดินบริเวณคูน้ำคันดิน ชุมชนโบราณเขตอำเภอเมือง : รายงานการวิจัย

คูน้ำคันดินเป็นหลักฐานของแหล่งชุมชนโบราณที่หลงเหลืออยู่ให้เห็นได้ชัดเจนถึงปัจจุบัน โดยเฉพาะจากภาพถ่ายทางอากาศมาตราส่วนที่เหมาะสม ประเทศไทยมีภาพถ่ายทางอากาศชุด NS.3 มาตราส่วน 1:50,000 ถ่ายครอบคลุมทั่วประเทศปี พ.ศ. 2524 ซึ่งสามารถใช้วิเคราะห์ให้เห็นว่า คูน้ำคันดินเหล่านี้ถูกทำลายไปทั้งตามสภาพธรรมชาติ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: ผ่องศรี จั่นห้าว
Other Authors: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาภูมิศาสตร์
Format: Technical Report
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2006
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2739
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.2739
record_format dspace
spelling th-cuir.27392007-12-26T07:23:56Z การใช้ที่ดินบริเวณคูน้ำคันดิน ชุมชนโบราณเขตอำเภอเมือง : รายงานการวิจัย Land use of moats and mounds of ancient setelements in provicial capitals ผ่องศรี จั่นห้าว จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาภูมิศาสตร์ การใช้ที่ดิน--ไทย คูน้ำคันดินเป็นหลักฐานของแหล่งชุมชนโบราณที่หลงเหลืออยู่ให้เห็นได้ชัดเจนถึงปัจจุบัน โดยเฉพาะจากภาพถ่ายทางอากาศมาตราส่วนที่เหมาะสม ประเทศไทยมีภาพถ่ายทางอากาศชุด NS.3 มาตราส่วน 1:50,000 ถ่ายครอบคลุมทั่วประเทศปี พ.ศ. 2524 ซึ่งสามารถใช้วิเคราะห์ให้เห็นว่า คูน้ำคันดินเหล่านี้ถูกทำลายไปทั้งตามสภาพธรรมชาติ และจากการกระทำของมนุษย์ บางตำแหน่งถูกทำลายน้อยยังคงสภาพให้เห็นได้ แต่บางตำแหน่งถูกทำลายมาก โดยเฉพาะเขตชุมชนหนาแน่น เช่นเดียวกับที่อำเภอเมือง 25 ตำแหน่ง การศึกษาเปรียบเทียบภาพถ่ายทางอากาศชุด NS.3 ดังกล่าว กับภาพชุด WWS. ซึ่งถ่ายทำพ.ศ. 2496 ทำให้เป็นว่าเพียงช่วงเวลาประมาณ 30 ปี คูน้ำคันดินเขตอำเภอเมืองถูกทำลายอย่างรวดเร็วจากการขยายตัวของประชากร การพัฒนาชุมชนและเทคโนโลยีเพื่อการเกษตร หากปล่อยให้มีการทำลายต่อไป สภาพคูน้ำคันดินชุมชนโบราณอำเภอเมืองจะไม่เหลือให้เห็นเป็นหลักฐานต่อไป ประเทศไทยยังมีคูน้ำคันดินอีกจำนวนมากที่กำลังจะถูกทำลายไปเช่นเดียวกับคูน้ำคันดินอำเภอเมือง ควรให้หน่วยงานหรือบุคคลที่เกี่ยวข้อง เร่งดำเนินการอนุรักษ์คูน้ำคันดินอำเภอเมืองด้วยมาตรการและบทลงโทษผู้ฝ่าฝืน ให้เป็นตัวอย่างต่อการอนุรักษ์ชุมชนโบราณทั่วประเทศต่อไป ;คูน้ำคันดินเป็นหลักฐานของแหล่งชุมชนโบราณที่หลงเหลืออยู่ให้เห็นได้ชัดเจนถึงปัจจุบัน โดยเฉพาะจากภาพถ่ายทางอากาศมาตราส่วนที่เหมาะสม ประเทศไทยมีภาพถ่ายทางอากาศชุด NS.3 มาตราส่วน 1:50,000 ถ่ายครอบคลุมทั่วประเทศปี พ.ศ. 2524 ซึ่งสามารถใช้วิเคราะห์ให้เห็นว่า คูน้ำคันดินเหล่านี้ถูกทำลายไปทั้งตามสภาพธรรมชาติ และจากการกระทำของมนุษย์ บางตำแหน่งถูกทำลายน้อยยังคงสภาพให้เห็นได้ แต่บางตำแหน่งถูกทำลายมาก โดยเฉพาะเขตชุมชนหนาแน่น เช่นเดียวกับที่อำเภอเมือง 25 ตำแหน่ง การศึกษาเปรียบเทียบภาพถ่ายทางอากาศชุด NS.3 ดังกล่าว กับภาพชุด WWS. ซึ่งถ่ายทำพ.ศ. 2496 ทำให้เป็นว่าเพียงช่วงเวลาประมาณ 30 ปี คูน้ำคันดินเขตอำเภอเมืองถูกทำลายอย่างรวดเร็วจากการขยายตัวของประชากร การพัฒนาชุมชนและเทคโนโลยีเพื่อการเกษตร หากปล่อยให้มีการทำลายต่อไป สภาพคูน้ำคันดินชุมชนโบราณอำเภอเมืองจะไม่เหลือให้เห็นเป็นหลักฐานต่อไป ประเทศไทยยังมีคูน้ำคันดินอีกจำนวนมาก ที่กำลังจะถูกทำลายไปเช่นเดียวกับคูน้ำคันดินอำเภอเมือง ควรให้หน่วยงานหรือบุคคลที่เกี่ยวข้อง เร่งดำเนินการอนุรักษ์คูน้ำคันดินอำเภอเมืองด้วยมาตรการและบทลงโทษผู้ฝ่าฝืน ให้เป็นตัวอย่างต่อการอนุรักษ์ชุมชนโบราณทั่วประเทศต่อไป Moats and mounds (as seen particularly in aerial photographs of proper scale) are clear evidences which are left at present of ancient settlements. Thailand has in possession the aerial photograph set NS3 with the scale 1:50,000 ,whose domain covers the whole country as of the year 1981. The study of this aerial photograph set reveals that these moats and mounds have been destroyed by both nature and man. Some, especially those in heavily populated areas such as the 25 provincial capitals have been severely damaged, but some, which have not been affected very much, still retain their characteristic state. Therefore, it becomes necessary to study them from the aerial photograph set WWS of the year 1953. A comparative study of the two aerial photograph sets shows that only within an approximately 30 year span, moats and mounds in provincial capitals have rapidly destroyed owing to population expansion as well as the development of community and technology for agricultural purposes. If these are allowed to continue, moats and mounds marking ancient settlements will no longer remain as archaeological evidence. In Thailand, there are still a large number of moats and mounds which are being destroyed just like the ones in provincial capitals. Thus, it is recommended that the concerned government sectors and individuals take prompt action to preserve them, by using proper measures of punishment so as to set a good example for the preservation of ancient settlements of the whole country in the future. กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช 2006-09-23T03:18:26Z 2006-09-23T03:18:26Z 2531 Technical Report http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2739 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 100343880 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic การใช้ที่ดิน--ไทย
spellingShingle การใช้ที่ดิน--ไทย
ผ่องศรี จั่นห้าว
การใช้ที่ดินบริเวณคูน้ำคันดิน ชุมชนโบราณเขตอำเภอเมือง : รายงานการวิจัย
description คูน้ำคันดินเป็นหลักฐานของแหล่งชุมชนโบราณที่หลงเหลืออยู่ให้เห็นได้ชัดเจนถึงปัจจุบัน โดยเฉพาะจากภาพถ่ายทางอากาศมาตราส่วนที่เหมาะสม ประเทศไทยมีภาพถ่ายทางอากาศชุด NS.3 มาตราส่วน 1:50,000 ถ่ายครอบคลุมทั่วประเทศปี พ.ศ. 2524 ซึ่งสามารถใช้วิเคราะห์ให้เห็นว่า คูน้ำคันดินเหล่านี้ถูกทำลายไปทั้งตามสภาพธรรมชาติ และจากการกระทำของมนุษย์ บางตำแหน่งถูกทำลายน้อยยังคงสภาพให้เห็นได้ แต่บางตำแหน่งถูกทำลายมาก โดยเฉพาะเขตชุมชนหนาแน่น เช่นเดียวกับที่อำเภอเมือง 25 ตำแหน่ง การศึกษาเปรียบเทียบภาพถ่ายทางอากาศชุด NS.3 ดังกล่าว กับภาพชุด WWS. ซึ่งถ่ายทำพ.ศ. 2496 ทำให้เป็นว่าเพียงช่วงเวลาประมาณ 30 ปี คูน้ำคันดินเขตอำเภอเมืองถูกทำลายอย่างรวดเร็วจากการขยายตัวของประชากร การพัฒนาชุมชนและเทคโนโลยีเพื่อการเกษตร หากปล่อยให้มีการทำลายต่อไป สภาพคูน้ำคันดินชุมชนโบราณอำเภอเมืองจะไม่เหลือให้เห็นเป็นหลักฐานต่อไป ประเทศไทยยังมีคูน้ำคันดินอีกจำนวนมากที่กำลังจะถูกทำลายไปเช่นเดียวกับคูน้ำคันดินอำเภอเมือง ควรให้หน่วยงานหรือบุคคลที่เกี่ยวข้อง เร่งดำเนินการอนุรักษ์คูน้ำคันดินอำเภอเมืองด้วยมาตรการและบทลงโทษผู้ฝ่าฝืน ให้เป็นตัวอย่างต่อการอนุรักษ์ชุมชนโบราณทั่วประเทศต่อไป ;คูน้ำคันดินเป็นหลักฐานของแหล่งชุมชนโบราณที่หลงเหลืออยู่ให้เห็นได้ชัดเจนถึงปัจจุบัน โดยเฉพาะจากภาพถ่ายทางอากาศมาตราส่วนที่เหมาะสม ประเทศไทยมีภาพถ่ายทางอากาศชุด NS.3 มาตราส่วน 1:50,000 ถ่ายครอบคลุมทั่วประเทศปี พ.ศ. 2524 ซึ่งสามารถใช้วิเคราะห์ให้เห็นว่า คูน้ำคันดินเหล่านี้ถูกทำลายไปทั้งตามสภาพธรรมชาติ และจากการกระทำของมนุษย์ บางตำแหน่งถูกทำลายน้อยยังคงสภาพให้เห็นได้ แต่บางตำแหน่งถูกทำลายมาก โดยเฉพาะเขตชุมชนหนาแน่น เช่นเดียวกับที่อำเภอเมือง 25 ตำแหน่ง การศึกษาเปรียบเทียบภาพถ่ายทางอากาศชุด NS.3 ดังกล่าว กับภาพชุด WWS. ซึ่งถ่ายทำพ.ศ. 2496 ทำให้เป็นว่าเพียงช่วงเวลาประมาณ 30 ปี คูน้ำคันดินเขตอำเภอเมืองถูกทำลายอย่างรวดเร็วจากการขยายตัวของประชากร การพัฒนาชุมชนและเทคโนโลยีเพื่อการเกษตร หากปล่อยให้มีการทำลายต่อไป สภาพคูน้ำคันดินชุมชนโบราณอำเภอเมืองจะไม่เหลือให้เห็นเป็นหลักฐานต่อไป ประเทศไทยยังมีคูน้ำคันดินอีกจำนวนมาก ที่กำลังจะถูกทำลายไปเช่นเดียวกับคูน้ำคันดินอำเภอเมือง ควรให้หน่วยงานหรือบุคคลที่เกี่ยวข้อง เร่งดำเนินการอนุรักษ์คูน้ำคันดินอำเภอเมืองด้วยมาตรการและบทลงโทษผู้ฝ่าฝืน ให้เป็นตัวอย่างต่อการอนุรักษ์ชุมชนโบราณทั่วประเทศต่อไป
author2 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาภูมิศาสตร์
author_facet จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาภูมิศาสตร์
ผ่องศรี จั่นห้าว
format Technical Report
author ผ่องศรี จั่นห้าว
author_sort ผ่องศรี จั่นห้าว
title การใช้ที่ดินบริเวณคูน้ำคันดิน ชุมชนโบราณเขตอำเภอเมือง : รายงานการวิจัย
title_short การใช้ที่ดินบริเวณคูน้ำคันดิน ชุมชนโบราณเขตอำเภอเมือง : รายงานการวิจัย
title_full การใช้ที่ดินบริเวณคูน้ำคันดิน ชุมชนโบราณเขตอำเภอเมือง : รายงานการวิจัย
title_fullStr การใช้ที่ดินบริเวณคูน้ำคันดิน ชุมชนโบราณเขตอำเภอเมือง : รายงานการวิจัย
title_full_unstemmed การใช้ที่ดินบริเวณคูน้ำคันดิน ชุมชนโบราณเขตอำเภอเมือง : รายงานการวิจัย
title_sort การใช้ที่ดินบริเวณคูน้ำคันดิน ชุมชนโบราณเขตอำเภอเมือง : รายงานการวิจัย
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2006
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2739
_version_ 1681413151518621696