ภาวะที่มีผลต่อการแปรผันด้วยตัวเองของเชื้อ Acetobacter xylinum

วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: นริสรา กิตติวณิชานนท์
Other Authors: สุเมธ ตันตระเธียร
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2006
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2840
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.2840
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic อะซีโตแบคเตอร์ไซลีนัม
ความผันแปร (ชีววิทยา)
spellingShingle อะซีโตแบคเตอร์ไซลีนัม
ความผันแปร (ชีววิทยา)
นริสรา กิตติวณิชานนท์
ภาวะที่มีผลต่อการแปรผันด้วยตัวเองของเชื้อ Acetobacter xylinum
description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544
author2 สุเมธ ตันตระเธียร
author_facet สุเมธ ตันตระเธียร
นริสรา กิตติวณิชานนท์
format Theses and Dissertations
author นริสรา กิตติวณิชานนท์
author_sort นริสรา กิตติวณิชานนท์
title ภาวะที่มีผลต่อการแปรผันด้วยตัวเองของเชื้อ Acetobacter xylinum
title_short ภาวะที่มีผลต่อการแปรผันด้วยตัวเองของเชื้อ Acetobacter xylinum
title_full ภาวะที่มีผลต่อการแปรผันด้วยตัวเองของเชื้อ Acetobacter xylinum
title_fullStr ภาวะที่มีผลต่อการแปรผันด้วยตัวเองของเชื้อ Acetobacter xylinum
title_full_unstemmed ภาวะที่มีผลต่อการแปรผันด้วยตัวเองของเชื้อ Acetobacter xylinum
title_sort ภาวะที่มีผลต่อการแปรผันด้วยตัวเองของเชื้อ acetobacter xylinum
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2006
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2840
_version_ 1681413026939404288
spelling th-cuir.28402008-02-28T02:57:08Z ภาวะที่มีผลต่อการแปรผันด้วยตัวเองของเชื้อ Acetobacter xylinum Conditions that effect spontaneous variation of Acetobacter xylinum นริสรา กิตติวณิชานนท์ สุเมธ ตันตระเธียร วิเชียร ริมพณิชยกิจ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ อะซีโตแบคเตอร์ไซลีนัม ความผันแปร (ชีววิทยา) วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 เชื้อ Acetobacter sp. 3 สายพันธุ์ จากสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย มีลักษณะเฉพาะทางสัณฐานวิทยา ชีวเคมีและการสร้างวุ้นแตกต่างกัน โดยเมื่อเลี้ยงในอาหารเหลวน้ำมะพร้าวที่ปรับปริมาณของแข็งที่ละลายน้ำทั้งหมดเป็น 9 ํBrix ด้วยน้ำตาลซูโครสและปรับค่าความเป็นกรดด่างให้เป็น 5 ด้วยกรดอะซิติก ที่อุณหภูมิ 30 ํC เป็นเวลา 7 วัน พบว่า สายพันธุ์ TISTR 893 สร้างวุ้นที่มีความหนา 0.36 เซนติเมตร มีน้ำหนักเปียก 9.78 กรัม ปริมาณกรดในอาหารเป็น 0.22% (w/v) ผลิตเซลลูโลส 35.27% (กรัมเซลลูโลสต่อปริมาณน้ำตาลที่ใช้ 100 กรัม) TISTR 975 สร้างวุ้นที่มีความหนา 1.04 เซนติเมตร มีน้ำหนักเปียก 27.73 กรัม ปริมาณกรดในอาหารเป็น 0.30% ผลิตเซลลูโลส 27.88% และ TISTR 1037 สร้างวุ้นที่มีความหนา 0.55 เซนติเมตร มีน้ำหนักเปียก 14.56 กรัม ปริมาณกรดในอาหารเป็น 0.23% ผลิตเซลลูโลส 30.10% เมื่อทำการเลี้ยงเชื้อและต่อเชื้อ 3 วิธีคือ เลี้ยงเชื้อในอาหารเหลวที่ภาวะนิ่งต่อเชื้อทุกๆ 3 วัน เลี้ยงเชื้อในอาหารเหลวที่ภาวะเขย่าด้วยความเร็วรอบ 150 rpm ต่อเชื้อทุกๆ 3 วัน และเลี้ยงเชื้อในอาหารเหลวสลับกับอาหารแข็งที่ภาวะนิ่งต่อเชื้อทุกๆ 7 วัน ทำให้พบเชื้อแปรผัน 4 สายพันธุ์ที่มีลักษณะโคโลนีเปลี่ยนไปจากลักษณะโคโลนีสายพันธุ์เดิมดังนี้ 893A แปรจาก TISTR 893 หลังจากเลี้ยงในอาหารเหลวสลับกับอาหารแข็งที่ภาวะนิ่งและต่อเชื้อเป็นจำนวน 10 ครั้ง สร้างวุ้นที่มีความหนา 0.38 เซนติเมตรและผลิตเซลลูโลสลดลงเป็น 12.97% 975A แปรจาก TISTR 975 หลังจากเลี้ยงในอาหารเหลวที่ภาวะเขย่าและต่อเชื้อเป็นจำนวน 16 ครั้ง สร้างวุ้นที่มีความหนา 0.63 เซนติเมตรและผลิตเซลลูโลสลดลงเป็น 13.02% 975B แปรจาก TISTR 975 หลังจากเลี้ยงในอาหารเหลวที่ภาวะนิ่งและต่อเชื้อเป็นจำนวน 16 ครั้ง สร้างวุ้นที่มีความหนา 0.41 เซนติเมตรและผลิตเซลลูโลสลดลงเป็น 11.36% 1037A แปรจาก TISTR 1037 หลังจากเลี้ยงในอาหารเหลวที่ภาวะเขย่าและต่อเชื้อเป็นจำนวน 16 ครั้ง สร้างวุ้นที่มีความหนา 0.64 เซนติเมตรและผลิตเซลลูโลสลดลงเป็น 16.51% ในระหว่างการเลี้ยงเชื้อและต่อเชื้อทั้ง 3 วิธีเมื่อต่อเชื้อครบทุก 4 ครั้ง จะนำเชื้อมาวัดการสร้างวุ้นเพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงของเชื้อเปรียบเทียบกับลักษณะโคโลนีบนอาหารแข็ง พบว่าถึงแม้เชื้อจะมีการเปลี่ยนแปลงลักษณะการสร้างวุ้นในทุกครั้งที่ทำการวัด แต่ลักษณะโคโลนีของเชื้อไม่ได้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปด้วยทุกครั้ง เมื่อทดสอบลักษณะทางชีวเคมีของเชื้อแปรผันทั้ง 4 สายพันธุ์ พบว่ามีความแตกต่างกันและแตกต่างจากเชื้อตั้งต้น แต่เมื่อทดสอบลักษณะทางพันธุกรรมของเชื้อตั้งต้น 3 สายพันธุ์และเชื้อแปรผัน 4 สายพันธุ์ โดยใช้เทคนิค Restriction Fragment Length Polymorphism (RFLP) ด้วยเรสทริกชันเอนไซม์ 8 ชนิดพบว่า แถบดีเอ็นเอของแต่ละสายพันธุ์บนอะกาโรสเกิดจากการตัดด้วยเอนไซม์ทั้ง 8 ชนิดไม่มีความแตกต่างกัน Three strains of Acetobacter sp. obtained from Thailand Institute of Scientific and Technological Research were different in morphology, chemical characteristics and cellulose production. After cultivation in coconut water media, which was adjusted the total soluble solid to 9 ํBrix by sucrose and pH to 5 by acetic acid at 30 ํC for 7 days, TISTR 893 produced 0.36 centimeters in pellicle thickness which had 9.78 grams wet weight, 0.22% acid content (as g acetic acid per 100 ml media) and 35.27% yield of cellulose, TISTR 975 produced 1.04 centimeters in pellicle thickness which had 27.73 grams wet weight, 0.30% acid content and 27.88% yield of cellulose and TISTR 1037 produced 0.55 centimeters in pellicle thickness which had 14.56 grams wet weight, 0.23% acid content and 30.10% yield of cellulose. Three methods of cultivation and subculture were culturing in liquid media under static condition and subculture every 3 days, culturing in liquid media at 150 rpm with shaking condition and subculture every 3 days, and alternately culturing in liquid media and agar media under static condition and subculture every 7 days. These resulted in 4 variants, which were different in colony forming from parent cultures. The 893A varied from TISTR 893 after alternately culturing in liquid media and agar media under static condition and subculture for 10 times, it produced 0.38 centimeters in pellicle thickness and 12.97% yield of cellulose. The 975A varied from TISTR 975 after culturing in liquid media at 150 rpm with shaking condition and subculture for 16 times, it produced 0.63 centimeters in pellicle thickness and 13.02% yield of cellulose. The 975B varied from TISTR 975 after culturing in liquid media under static condition and subculture for 16 times, it produced 0.41 centimeters in pellicle thickness and 11.36% yield of cellulose. The 1037 A varied from TISTR 1037 after culturing in liquid media at 150 rpm with shaking condition and subculture for 16 times, it produced 0.64 centimeters in pellicle thickness and 16.51%yield of cellulose. During the cultivations of every 4 subcultures, there were detectable reductions of cellulose production but no variation in colony forming. Chemical characteristics of 4 variants were different from each other and from parent cultures. Genetic characteristics of the 3 TISTR strains and 4 variants were tested by using Restriction Fragment Length Polymorphism (RFLP) technique with 8 restriction enzymes and found that there were no differences. 2006-09-26T05:50:27Z 2006-09-26T05:50:27Z 2544 Thesis 9741701926 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2840 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 8207088 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย