การประเมินตัวบ่งชี้รวมมาตราฐานการศึกษาของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน : การประยุกต์ใช้เทคนิคการวิเคราะห์เชิงกระบวนการลำดับลดหลั่น

วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: มนัสวีร์ โนนหัวรอ, 2518-
Other Authors: สมหวัง พิธิยานุวัฒน์
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2006
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/296
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.296
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic ตัวบ่งชี้ทางการศึกษา
การศึกษา--มาตรฐาน
กระบวนการลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์
spellingShingle ตัวบ่งชี้ทางการศึกษา
การศึกษา--มาตรฐาน
กระบวนการลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์
มนัสวีร์ โนนหัวรอ, 2518-
การประเมินตัวบ่งชี้รวมมาตราฐานการศึกษาของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน : การประยุกต์ใช้เทคนิคการวิเคราะห์เชิงกระบวนการลำดับลดหลั่น
description วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545
author2 สมหวัง พิธิยานุวัฒน์
author_facet สมหวัง พิธิยานุวัฒน์
มนัสวีร์ โนนหัวรอ, 2518-
format Theses and Dissertations
author มนัสวีร์ โนนหัวรอ, 2518-
author_sort มนัสวีร์ โนนหัวรอ, 2518-
title การประเมินตัวบ่งชี้รวมมาตราฐานการศึกษาของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน : การประยุกต์ใช้เทคนิคการวิเคราะห์เชิงกระบวนการลำดับลดหลั่น
title_short การประเมินตัวบ่งชี้รวมมาตราฐานการศึกษาของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน : การประยุกต์ใช้เทคนิคการวิเคราะห์เชิงกระบวนการลำดับลดหลั่น
title_full การประเมินตัวบ่งชี้รวมมาตราฐานการศึกษาของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน : การประยุกต์ใช้เทคนิคการวิเคราะห์เชิงกระบวนการลำดับลดหลั่น
title_fullStr การประเมินตัวบ่งชี้รวมมาตราฐานการศึกษาของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน : การประยุกต์ใช้เทคนิคการวิเคราะห์เชิงกระบวนการลำดับลดหลั่น
title_full_unstemmed การประเมินตัวบ่งชี้รวมมาตราฐานการศึกษาของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน : การประยุกต์ใช้เทคนิคการวิเคราะห์เชิงกระบวนการลำดับลดหลั่น
title_sort การประเมินตัวบ่งชี้รวมมาตราฐานการศึกษาของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน : การประยุกต์ใช้เทคนิคการวิเคราะห์เชิงกระบวนการลำดับลดหลั่น
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2006
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/296
_version_ 1681409671804485632
spelling th-cuir.2962008-01-08T04:22:09Z การประเมินตัวบ่งชี้รวมมาตราฐานการศึกษาของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน : การประยุกต์ใช้เทคนิคการวิเคราะห์เชิงกระบวนการลำดับลดหลั่น An assessment of composite indicators for educational standards of basic education institution : an applicaion of analytic hierarchy process technique มนัสวีร์ โนนหัวรอ, 2518- สมหวัง พิธิยานุวัฒน์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ ตัวบ่งชี้ทางการศึกษา การศึกษา--มาตรฐาน กระบวนการลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์ วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 ประเมินตัวบ่งชี้มาตรฐานการศึกษารายด้าน ได้แก่ มาตรฐานด้านผู้เรียน มาตรฐานด้านกระบวนการ มาตรฐานด้านปัจจัย และตัวบ่งชี้รวมทั้งหมด โดยประยุกต์ใช้เทคนิคการวิเคราะห์เชิงกระบวนการลำดับลดหลั่น กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในงานวิจัยนี้คือ ผู้บริหาร ครู จำนวน 867 คน จาก 3 สังกัด ได้แก่ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ กรมสามัญศึกษา และสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้น โดยมีตัวบ่งชี้มาตรฐานการศึกษา เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นกรอบในการพัฒนาแบบสอบถามฉบับนี้ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าไอเกนเวคเตอร์(eigenvector) ประมวลผลข้อมูลด้วยโปรแกรม SPSS for Windows และใช้ Pairwise Comparisons Matrix หาค่าไอเกนเวคเตอร์ ผลการวิจัย 1) ผลการเปรียบเทียบน้ำหนักความสำคัญของมาตรฐานหลัก พบว่า มาตรฐานด้านผู้เรียนมีน้ำหนักความสำคัญมากที่สุด มีค่าเป็น .400 รองลงมาคือมาตรฐานด้านกระบวนการ มีค่าน้ำหนักความสำคัญเป็น .332 อันดับสุดท้ายคือ มาตรฐานด้านปัจจัย มีน้ำหนักความสำคัญเป็น .269 2) ผลการเปรียบเทียบน้ำหนักความสำคัญของมาตรฐานรอง พบว่า ในมาตรฐานด้านผู้เรียน มาตรฐานที่ 11, 9 และ 1 มีน้ำหนักความสำคัญสูงสุดเป็น .101, .092 และ .091 ตามลำดับ ในมาตรฐานด้านกระบวนการ มาตรฐานที่ 18, 16 และ 17 มีน้ำหนักความสำคัญสูงสุดเป็น .203, .169 และ .169 ในมาตรฐานด้านปัจจัย มาตรฐานที่ 22, 23 และ 21 มีน้ำหนักความสำคัญสูงสุดเป็น .126, .126 และ .125 ตามลำดับ 3) ผลการประเมินตัวบ่งชี้รวมรายด้าน พบว่า มาตรฐานด้านผู้เรียนมีตัวบ่งชี้รวม 19 ตัวบ่งชี้ มาตรฐานด้านกระบวนการมีตัวบ่งชี้รวม 12 ตัวบ่งชี้ และมาตรฐานด้านปัจจัยมีตัวบ่งชี้รวม 11 ตัวบ่งชี้ 4) ตัวบ่งชี้รวมทั้งหมดมี 42 ตัวบ่งชี้ โดยมีน้ำหนักความสำคัญสูงสุดเป็น .060, .040 และ .040 ตามลำดับ ได้แก่ 1)มีการจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับหลักสูตร ต้องการของผู้เรียน ท้องถิ่น และการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม ให้สามารถเชื่อมโยงแก้ปัญหาท้องถิ่นได้และนำไปปฏิบัติได้จริง 2)มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของสิ่งเสพย์ติดและสิ่งมอมเมา 3)ไม่เสพสิ่งเสพย์ติดและปลอดจากสิ่งมอมเมาและไม่แสวงหาผลประโยชน์ To assessment the composite indicators for sub educational standards that's learners standards, process standards, factor standards and the composite indicators major educational standards an application of analytic hierarchy process technique. The sample were 867 director and teachers from 3 sectors : Office of the National Primary Education Commission (ONPEC), Department of General Education (DGE) and Office of the Private Education Commission (OPEC). The research instruments were questionnaire developed be the researcher, using indicators for educational standards assessment of basic education institution as a framework. Data were analyzed be frequencies, percentage, mean, eigenvector and Pairwise Comparisons Matrix. The research finding were summarized as follows 1) A composite of important weights major standards : the finding a first rank were learners standards have weight .400, second rank were process standards have weight .332 and last were factor standards have weight .269 2) A composite of important weights sub standards : the finding, learners standards in sub standards 11, 9 and 1 have weight .101, .092 and .091, respectively, process standards in sub standards 18, 16 and 17 have weight .203, .169 and .169, respectively and factor standards in sub standards 22, 23 and 21 have weights .126, .126 and .125, respectively. 3) an assessment composite indicators for sub educational standards : the finding, learners standards have 19 indicators, process standards have 12 indicators and factor standards have 11 indicators. 4) The composite indicators for major educational standards have 42 indicator, a most important weights .060, and .041, respectively : that's a development curriculum to be in line with position and need locality to share community. Don't to take a drug and to be free from drugs and don't to seek benefit. Use of resource , to save and worthwhile. 2006-06-08T11:15:11Z 2006-06-08T11:15:11Z 2545 Thesis 9741725841 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/296 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 6472410 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย