กายวิภาคศาสตร์ของเส้นประสาท saphenous ที่สัมพันธ์กับ medial femoral epicondyle, tibial tuberosity ตาตุ่มใน และหลอดเลือดดำ great saphenous

วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: อมรรัตน์ โตทองหล่อ
Other Authors: สิทธิพร แอกทอง
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2013
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32249
http://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1475
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.32249
record_format dspace
spelling th-cuir.322492019-10-07T04:16:26Z กายวิภาคศาสตร์ของเส้นประสาท saphenous ที่สัมพันธ์กับ medial femoral epicondyle, tibial tuberosity ตาตุ่มใน และหลอดเลือดดำ great saphenous Anatomy of the saphenous nerve in relation to medial femoral epicondye, tibial tuberosity, medial malleolus and great saphenous vein อมรรัตน์ โตทองหล่อ สิทธิพร แอกทอง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์ ประสาทกายวิภาคศาสตร์ ประสาทโคนขา ขา -- การมีประสาทไปเลี้ยง หลอดเลือดซาฟีนัส Neuroanatomy Femoral nerve Leg -- Innervation Saphenous vein วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553 เส้นประสาท saphenous(SN) เป็นเส้นประสาทที่เกี่ยวข้องกับการทำหัตถการทางการแพทย์หลายวิธี ดังนั้นความรู้ทางกายวิภาคของเส้นประสาทที่ถูกต้องจะช่วยลดอุบัติการณ์การเกิดการบาดเจ็บต่อ SN ได้ วัตถุประสงค์ของการศึกษาในครั้งนี้เพื่อศึกษาระยะทางระหว่าง SN กับจุดอ้างอิงต่าง ๆ ได้แก่ medial femoral epicondyle(ME), tibial tuberosity(TT),และตาตุ่มใน และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง SN กับหลอดเลือดดำ great saphenous(GSV) รวมทั้งกำหนดบริเวณที่เสี่ยงอันตรายต่อ SN ในการทำหัถตการที่เกี่ยวข้องกับ GSV โดยใช้อาจารย์ใหญ่ 48 ร่าง (95 ข้าง) ผลการศึกษาพบว่า ระยะระหว่างจุดที่ SN แทงออกมาอยู่เหนือต่อตาตุ่มใน 30.65 ± 2.75 cm (85.0% ± 5.7% ของความยาวขา), ระยะเฉลี่ยที่ลากตั้งฉากจาก ME ไปยัง SN ในแนวดิ่งและแนวนอนเท่ากับ 5.47 ± 1.87 cm (15.1% ± 5.1% ของความยาวขา) และ 1.21 ± 0.70 cm ตามลำดับ และระยะเฉลี่ยระหว่าง SN กับ TT เท่ากับ 7.16 ± 0.70 cm รูปแบบความสัมพันธ์ระหว่าง SN กับ GSV ส่วนใหญ่เป็นแบบ SN อยู่หน้าแล้วเปลี่ยนมาอยู่หลังต่อ GSV (25%) ไม่พบความแตกต่างระหว่างข้างแต่ระหว่างเพศพบว่า มีความแตกต่างของระยะทางระหว่างจุดที่ SN แทงออกมากับตาตุ่มใน และระยะทางในแนวนอนระหว่าง SN กับ TT ระยะทางส่วนใหญ่จะมีค่าแตกต่างจากที่เคยมีการศึกษาในอาจารย์ใหญ่ชาวต่างชาติไม่มากนัก และพบว่ามีรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่าง SN กับ GSV ที่หลากหลายมากกว่าที่เคยมีการศึกษาในอดีต บริเวณที่มีความเสี่ยงที่ SN จะได้รับบาดเจ็บไม่สามารถระบุได้แน่ชัดเนื่องจากมีความผันแปรทางกายวิภาคศาสตร์ของ GSV มาก ดังนั้นควรระมัดระวังอย่างมากในการทำหัตถการของ GSV หรือทางด้านในของปลายขา Saphenous nerve(SN) is involved in various medical procedures. Knowledge of anatomical variations of this nerve is thus of clinical importance. The objectives of this study were to define the relation between SN and palpable landmarks and great saphenous vein(GSV). Ninety-five legs from 48 cadavers of both genders were dissected. We measured distances from SN to medial femoral epicondyle(ME), tibial tuberosity(TT), and medial malleolus(MM). We found that the piercing point of SN was 30.65 ± 2.75 cm (85 ± 5.7%) above MM, the vertical and horizontal distances between SN and ME were 5.47 ± 1.87 cm (15.1 ± 5.1%) and 1.21 ± 0.70 cm, respectively, and the distance between SN and TT was 7.16 ± 0.70 cm. The most common relative pattern between SN and GSV was SN anterior and then posterior to GSV (25%). There were no differences between sides but sex differences were present in some distances. The distances from palpable landmarks in this study were slightly different from previous studies and the relative pattern between SN and GSV was variable. The specific danger area cannot be identified because the anatomy of GSV was highly variable. Therefore, care should be taken when performing procedures involving the GSV and medial side of leg. 2013-06-18T07:12:46Z 2013-06-18T07:12:46Z 2553 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32249 10.14457/CU.the.2010.1475 th http://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1475 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Chulalongkorn University Library
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic ประสาทกายวิภาคศาสตร์
ประสาทโคนขา
ขา -- การมีประสาทไปเลี้ยง
หลอดเลือดซาฟีนัส
Neuroanatomy
Femoral nerve
Leg -- Innervation
Saphenous vein
spellingShingle ประสาทกายวิภาคศาสตร์
ประสาทโคนขา
ขา -- การมีประสาทไปเลี้ยง
หลอดเลือดซาฟีนัส
Neuroanatomy
Femoral nerve
Leg -- Innervation
Saphenous vein
อมรรัตน์ โตทองหล่อ
กายวิภาคศาสตร์ของเส้นประสาท saphenous ที่สัมพันธ์กับ medial femoral epicondyle, tibial tuberosity ตาตุ่มใน และหลอดเลือดดำ great saphenous
description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553
author2 สิทธิพร แอกทอง
author_facet สิทธิพร แอกทอง
อมรรัตน์ โตทองหล่อ
format Theses and Dissertations
author อมรรัตน์ โตทองหล่อ
author_sort อมรรัตน์ โตทองหล่อ
title กายวิภาคศาสตร์ของเส้นประสาท saphenous ที่สัมพันธ์กับ medial femoral epicondyle, tibial tuberosity ตาตุ่มใน และหลอดเลือดดำ great saphenous
title_short กายวิภาคศาสตร์ของเส้นประสาท saphenous ที่สัมพันธ์กับ medial femoral epicondyle, tibial tuberosity ตาตุ่มใน และหลอดเลือดดำ great saphenous
title_full กายวิภาคศาสตร์ของเส้นประสาท saphenous ที่สัมพันธ์กับ medial femoral epicondyle, tibial tuberosity ตาตุ่มใน และหลอดเลือดดำ great saphenous
title_fullStr กายวิภาคศาสตร์ของเส้นประสาท saphenous ที่สัมพันธ์กับ medial femoral epicondyle, tibial tuberosity ตาตุ่มใน และหลอดเลือดดำ great saphenous
title_full_unstemmed กายวิภาคศาสตร์ของเส้นประสาท saphenous ที่สัมพันธ์กับ medial femoral epicondyle, tibial tuberosity ตาตุ่มใน และหลอดเลือดดำ great saphenous
title_sort กายวิภาคศาสตร์ของเส้นประสาท saphenous ที่สัมพันธ์กับ medial femoral epicondyle, tibial tuberosity ตาตุ่มใน และหลอดเลือดดำ great saphenous
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2013
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32249
http://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1475
_version_ 1724696122332545024