กลยุทธ์สำหรับการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในจังหวัดนนทบุรี
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2013
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32313 http://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1516 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.32313 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Chulalongkorn University Library |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
อุตสาหกรรมท่องเที่ยว -- ไทย -- นนทบุรี การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ -- ไทย -- นนทบุรี การส่งเสริมสุขภาพ -- ไทย -- นนทบุรี Tourism -- Thailand -- Nonthaburi Medical tourism -- Thailand -- Nonthaburi Health promotion -- Thailand -- Nonthaburi |
spellingShingle |
อุตสาหกรรมท่องเที่ยว -- ไทย -- นนทบุรี การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ -- ไทย -- นนทบุรี การส่งเสริมสุขภาพ -- ไทย -- นนทบุรี Tourism -- Thailand -- Nonthaburi Medical tourism -- Thailand -- Nonthaburi Health promotion -- Thailand -- Nonthaburi นพปฎล สมิตานนท์ กลยุทธ์สำหรับการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในจังหวัดนนทบุรี |
description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553 |
author2 |
อัฏฐมา นิลนพคุณ |
author_facet |
อัฏฐมา นิลนพคุณ นพปฎล สมิตานนท์ |
format |
Theses and Dissertations |
author |
นพปฎล สมิตานนท์ |
author_sort |
นพปฎล สมิตานนท์ |
title |
กลยุทธ์สำหรับการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในจังหวัดนนทบุรี |
title_short |
กลยุทธ์สำหรับการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในจังหวัดนนทบุรี |
title_full |
กลยุทธ์สำหรับการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในจังหวัดนนทบุรี |
title_fullStr |
กลยุทธ์สำหรับการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในจังหวัดนนทบุรี |
title_full_unstemmed |
กลยุทธ์สำหรับการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในจังหวัดนนทบุรี |
title_sort |
กลยุทธ์สำหรับการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในจังหวัดนนทบุรี |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2013 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32313 http://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1516 |
_version_ |
1724629969819140096 |
spelling |
th-cuir.323132019-10-07T06:30:36Z กลยุทธ์สำหรับการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในจังหวัดนนทบุรี Promoting strategies for health tourism in Nonthaburi Province นพปฎล สมิตานนท์ อัฏฐมา นิลนพคุณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา อุตสาหกรรมท่องเที่ยว -- ไทย -- นนทบุรี การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ -- ไทย -- นนทบุรี การส่งเสริมสุขภาพ -- ไทย -- นนทบุรี Tourism -- Thailand -- Nonthaburi Medical tourism -- Thailand -- Nonthaburi Health promotion -- Thailand -- Nonthaburi วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553 จังหวัดนนทบุรีกำลังได้รับการพัฒนาให้เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยขนาดใหญ่ อยู่ใกล้กรุงเทพมหานคร มีโครงสร้างพื้นฐานและสาธารณูปโภคที่ครบครัน ตลอดจนความเป็นธรรมชาติ ปัจจุบันมีสถานบริการส่งเสริมสุขภาพเกิดขึ้นมากมายที่กำลังได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยวเพื่อสุขภาพ เพื่อให้เป็นที่รู้จักและได้รับความนิยม จึงควรมีกลยุทธ์การส่งเสริมให้เกิดการมาท่องเที่ยวและใช้บริการเพิ่มขึ้น การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาความคาดหวังและความพอใจในการมาใช้บริการส่งเสริมสุขภาพ แล้วนำไปพัฒนากลยุทธ์สำหรับการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในจังหวัดนนทบุรีให้เป็นที่รู้จักมากขึ้น ด้วยการเก็บแบบสอบถามกลุ่มตัวอย่างนักท่องเที่ยวที่มาใช้บริการส่งเสริมสุขภาพของสถานประกอบการในจังหวัดนนทบุรี จำนวน 400 คน ใช้สถิติร้อยละในการวิเคราะห์ข้อมูล รวมทั้งการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ 2 ท่าน เจ้าหน้าที่ภาครัฐ 1 ท่าน และผู้ประกอบการ 5 ท่าน นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์และสรุปผล ผลการวิจัยพบว่า เมื่อเปรียบเทียบความคาดหวังและความพึงพอใจของผู้มาใช้บริการ พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจในการมาใช้บริการในระดับน้อยกว่าความคาดหวังก่อนใช้บริการ จากการสัมภาษณ์พบว่า ควรเพิ่มการใช้ผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทย เพิ่มการโฆษณาประชาสัมพันธ์ ตลอดจนพัฒนาและประเมินทักษะความรู้บุคลากรบริการอย่างต่อเนื่อง และจากการวิเคราะห์ SWOT และ TOWS ได้แนวทางกลยุทธ์การส่งเสริมการตลาดคือ 1) การตลาดเชิงรุก โดยเพิ่มการใช้ผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรไทยเพราะเป็นที่สนใจของนักท่องเที่ยว และขยายสาขาเข้าไปในโครงการบ้านจัดสรร ตลอดจนเพิ่มช่องทางประชาสัมพันธ์บนสื่ออินเตอร์เน็ต 2) การตลาดเชิงรับ ปรับรูปแบบและเปลี่ยนบรรยากาศการบริการโดยจัดโปรแกรมท่องเที่ยวนอกสถานที่ ตลอดจนกำหนดกลุ่มเป้าหมายที่ชัดเจนเพื่อนำไปกำหนดราคาและแผนการตลาด 3) การตลาดเชิงป้องกัน ส่งเสริมการเรียนรู้ พัฒนาทักษะพนักงานบริการสม่ำเสมอ 4) จัดรายการส่งเสริมการขายเป็นรายเดือนหรือบ่อยกว่า และสร้างแรงจูงใจที่หลากหลายในการทำงาน และ 5) การตลาดเชิงรักษา ผู้ประกอบการและภาครัฐร่วมกันสอดส่องดูแลสถานประกอบให้อยู่ดำเนินงานอย่างมีจรรยาบรรณ และให้นักท่องเที่ยวเป็นผู้ประเมินการบริการ Nonthaburi province has potential in developing Health Tourism. These potentials include adequate infrastructure and public utilities, and natural resources. Appropriate strategies for health tourism may enhance number of tourists visiting Nonthaburi province. The study aimed to examine tourists’ expectation and satisfaction towarded health promoting services in order to develop appropriate marketing mix strategies for those businesses in Nonthaburi province. The data was collected from 400 respondents who used health promotion services in Nothaburi province by using questionnaire, coupled with in-depth interview of 1 government officer, 2 specialists, and 5 entrepreneurs. Data was presented using content and SWOT analysis. Marketing mix strategies were drafted from analyzed data using TOWS matrix. The result showed that after using health promotion services, respondents felt less satisfaction than their expectation (before using services). Suggestion from interviewees included; adding more variety of Thai herbs in health products, more public relation and publications were necessary, and continuous development and assessment of services personnel skills were required. Conclusion of the suggested marketing mix strategies were as follow: 1) Product development using variety of Thai herbs to create uniqueness. 2) Market segmentation was necessary. 3) Effective promotion campaigns were crucial to motivate target markets. 4) Online advertising and public relations was a cost effective channel. 5) Services assessment was necessary to maintain and improve services. 2013-06-19T14:37:26Z 2013-06-19T14:37:26Z 2553 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32313 10.14457/CU.the.2010.1516 th http://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1516 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |