การเตรียมน้ำมันหล่อลื่นชนิดพอลิออลเอสเทอร์จากกรดไขมัน โดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธุ์ชนิดกรดในคาร์บอนไดออกไซด์ภาวะเหนือวิกฤต

วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: นพปรางค์ พลคิด
Other Authors: สมเกียรติ งามประเสริฐสิทธิ์
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2013
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32381
http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.360
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.32381
record_format dspace
spelling th-cuir.323812019-09-17T10:55:40Z การเตรียมน้ำมันหล่อลื่นชนิดพอลิออลเอสเทอร์จากกรดไขมัน โดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธุ์ชนิดกรดในคาร์บอนไดออกไซด์ภาวะเหนือวิกฤต Preparation of polyol ester lubricant from fatty acid using heterogeneous acid catalyst in supercritical CO₂ นพปรางค์ พลคิด สมเกียรติ งามประเสริฐสิทธิ์ ชวลิต งามจรัสศรีวิชัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ การหล่อลื่นและตัวหล่อลื่น น้ำมันหล่อลื่น เอสเทอริฟิเคชัน การเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธุ์ ตัวเร่งปฏิกิริยา Lubrication and lubricants Lubricating oils Esterification Heterogeneous catalysis Catalysts วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554 ไตรเมทิลอลโพรเพนเอสเทอร์ (Trimethylolpropane esters, TMPE) เป็นน้ำมันหล่อลื่นชีวภาพที่กำลังได้รับความสนใจ ด้วยการมีสมบัติทนทานต่อความร้อนและการเกิดออกซิเดชันที่ดี มีจุดไหลเทและความสามารถในการระเหยต่ำ อีกทั้งยังย่อยสลายได้ด้วยกระบวนการทางชีวภาพ ในงานวิจัยนี้ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการเตรียมไตรเมทิลอลโพรเพนเอสเทอร์ จากการทำปฏิกิริยาระหว่างไตรเมทิลอลโพรเพน (TMP) กับกรดออกทาโนอิกผ่านปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชันที่ความดันบรรยากาศ โดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาชนิดกรดคือ ซัลเฟตเซอร์โคเนีย ตัวแปรที่ศึกษาคือ เวลา (1-8 ชั่วโมง) อุณหภูมิ (90-150℃) อัตราส่วนโดยโมลของกรดออกทาโนอิกต่อ TMP (3:1-5:1) ปริมาณตัวเร่งปฏิกิริยา (0-10% โดยน้ำหนักของกรดออกทาโนอิก) และผลของคาร์บอนไดออกไซด์ภาวะเหนือวิกฤตที่มีต่อตัวเร่งปฏิกิริยา โดยวิเคราะห์หาร้อยละองค์ประกอบของสารผลิตภัณฑ์ และร้อยละการเลือกเกิดสารผลิตภัณฑ์ด้วยเครื่องแก๊สโครมาโทกราฟ พบว่าเมื่ออุณหภูมิ เวลา ปริมาณตัวเร่งปฏิกิริยา และอัตราส่วนโดยโมลของสารตั้งต้นเพิ่มขึ้นจะเกิด TMPE เพิ่มมากขึ้น และเกิด TMPE มากที่สุดที่อุณหภูมิ 150℃ อัตราส่วนโดยโมล 4:1 เวลา 8 ชั่วโมง และปริมาณตัวเร่งปฏิกิริยา 5% โดยน้ำหนักของกรดออกทาโนอิก และการใช้คาร์บอนไดออกไซด์ภาวะเหนือวิกฤตต้องมีการปรับความดันและอุณหภูมิ เพื่อให้มีความหนาแน่นเหมาะสมต่อการละลายสารตั้งต้น และสารผลิตภัณฑ์ซึ่งอยู่ในช่วง 15-20 โมลต่อลิตร Trimethylolpropane esters (TMPE) is very interesting lubricant because its thermal-oxidative stability, low pour point, low volatility and biodegradability. In this research, the effect of various factors on % conversion and selectivity in esterification of trimethylpropane (TMP) and octanoic acid using sulfated zirconia as acid catalyst were investigated. The effects of time (1-8 hr), temperature (90-150℃), Octanoic acid: TMP molar ratio (3:1-5:1), catalyst loading (0-10% w/w octanoic acid) and supercritical CO₂ were studied. The % conversion and selectivity were analyzed by gas chromatography (GC) and the catalysts were characterized by thermogravimetric analyzer (TGA). It was found that % composition of reaction mixture and product selectivity increased when reaction time, temperature, Octanoic acid: TMP molar ratio and amount of catalyst were increased. The complete reaction was observed at 8 hour, 150℃, 5%w catalyst and 4:1 octanoic acid :TMP molar ratio. For supercritical carbon dioxide, effect of density is very important factor to increase solubility of reactants and products in supercritical CO₂. 2013-06-21T10:04:39Z 2013-06-21T10:04:39Z 2554 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32381 10.14457/CU.the.2011.360 th http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.360 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Chulalongkorn University Library
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic การหล่อลื่นและตัวหล่อลื่น
น้ำมันหล่อลื่น
เอสเทอริฟิเคชัน
การเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธุ์
ตัวเร่งปฏิกิริยา
Lubrication and lubricants
Lubricating oils
Esterification
Heterogeneous catalysis
Catalysts
spellingShingle การหล่อลื่นและตัวหล่อลื่น
น้ำมันหล่อลื่น
เอสเทอริฟิเคชัน
การเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธุ์
ตัวเร่งปฏิกิริยา
Lubrication and lubricants
Lubricating oils
Esterification
Heterogeneous catalysis
Catalysts
นพปรางค์ พลคิด
การเตรียมน้ำมันหล่อลื่นชนิดพอลิออลเอสเทอร์จากกรดไขมัน โดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธุ์ชนิดกรดในคาร์บอนไดออกไซด์ภาวะเหนือวิกฤต
description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554
author2 สมเกียรติ งามประเสริฐสิทธิ์
author_facet สมเกียรติ งามประเสริฐสิทธิ์
นพปรางค์ พลคิด
format Theses and Dissertations
author นพปรางค์ พลคิด
author_sort นพปรางค์ พลคิด
title การเตรียมน้ำมันหล่อลื่นชนิดพอลิออลเอสเทอร์จากกรดไขมัน โดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธุ์ชนิดกรดในคาร์บอนไดออกไซด์ภาวะเหนือวิกฤต
title_short การเตรียมน้ำมันหล่อลื่นชนิดพอลิออลเอสเทอร์จากกรดไขมัน โดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธุ์ชนิดกรดในคาร์บอนไดออกไซด์ภาวะเหนือวิกฤต
title_full การเตรียมน้ำมันหล่อลื่นชนิดพอลิออลเอสเทอร์จากกรดไขมัน โดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธุ์ชนิดกรดในคาร์บอนไดออกไซด์ภาวะเหนือวิกฤต
title_fullStr การเตรียมน้ำมันหล่อลื่นชนิดพอลิออลเอสเทอร์จากกรดไขมัน โดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธุ์ชนิดกรดในคาร์บอนไดออกไซด์ภาวะเหนือวิกฤต
title_full_unstemmed การเตรียมน้ำมันหล่อลื่นชนิดพอลิออลเอสเทอร์จากกรดไขมัน โดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธุ์ชนิดกรดในคาร์บอนไดออกไซด์ภาวะเหนือวิกฤต
title_sort การเตรียมน้ำมันหล่อลื่นชนิดพอลิออลเอสเทอร์จากกรดไขมัน โดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธุ์ชนิดกรดในคาร์บอนไดออกไซด์ภาวะเหนือวิกฤต
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2013
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32381
http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.360
_version_ 1724629911212130304