ผลระยะยาวในชายไทยที่เสพติดสารระเหย : รายงานผลการวิจัย
ผลระยะยาวของสารระเหยในชายไทย ที่เข้ารับการบำบัดที่โรงพยาบาลธัญญารักษ์ โดยการตรวจเลือดจากกลุ่มที่ใช้สารระเหย 25 ราย และกลุ่มควบคุม 25 ราย พบว่าระดับฮอร์โมนคอร์ติซอลในกลุ่มที่ใช้สารระเหย สูงกว่ากลุ่มควบคุม แต่ระดับฮอร์โมนเพศ (LH, FSH, PRL, T) และ T4 ใกล้เคียงกัน ระดับอิมโมโนโกลบุลิน (IgM, IgG, IgA) ใน...
Saved in:
Main Authors: | , , , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Technical Report |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2006
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3239 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
Summary: | ผลระยะยาวของสารระเหยในชายไทย ที่เข้ารับการบำบัดที่โรงพยาบาลธัญญารักษ์ โดยการตรวจเลือดจากกลุ่มที่ใช้สารระเหย 25 ราย และกลุ่มควบคุม 25 ราย พบว่าระดับฮอร์โมนคอร์ติซอลในกลุ่มที่ใช้สารระเหย สูงกว่ากลุ่มควบคุม แต่ระดับฮอร์โมนเพศ (LH, FSH, PRL, T) และ T4 ใกล้เคียงกัน ระดับอิมโมโนโกลบุลิน (IgM, IgG, IgA) ในกลุ่มเสพสารระเหย จะลดลงอย่างมีนัยสำคัญ แต่ระดับเอ็นไซม์ SGOT, SGPT, ALP จะเพิ่มอย่างมีนัยสำคัญ เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุม แนวโน้มของการเปลี่ยนแปลงต่างๆ เหล่านี้ คงอยู่ได้นานอย่างน้อย 3 เดือน หลังจากได้รับการบำบัดรักษาในโรงพยาบาล เป็นเวลา 21 วัน |
---|