รูปแบบการพัฒนาตนเองและการวางแผนชีวิตวิชาชีพสำหรับนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลสังกัดสถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข

วิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: นงณภัทร รุ่งเนย
Other Authors: ศรเนตร อารีโสภณพิเชฐ
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2013
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32429
http://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1629
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.32429
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Chulalongkorn University Library
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic นักศึกษาพยาบาล
การพัฒนาตนเอง
วิชาชีพ
พยาบาล -- การแนะแนวอาชีพ
การพัฒนาอาชีพ
Nursing students
Self-culture
Professions
Nurses -- Vocational guidance
Career development
spellingShingle นักศึกษาพยาบาล
การพัฒนาตนเอง
วิชาชีพ
พยาบาล -- การแนะแนวอาชีพ
การพัฒนาอาชีพ
Nursing students
Self-culture
Professions
Nurses -- Vocational guidance
Career development
นงณภัทร รุ่งเนย
รูปแบบการพัฒนาตนเองและการวางแผนชีวิตวิชาชีพสำหรับนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลสังกัดสถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข
description วิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553
author2 ศรเนตร อารีโสภณพิเชฐ
author_facet ศรเนตร อารีโสภณพิเชฐ
นงณภัทร รุ่งเนย
format Theses and Dissertations
author นงณภัทร รุ่งเนย
author_sort นงณภัทร รุ่งเนย
title รูปแบบการพัฒนาตนเองและการวางแผนชีวิตวิชาชีพสำหรับนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลสังกัดสถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข
title_short รูปแบบการพัฒนาตนเองและการวางแผนชีวิตวิชาชีพสำหรับนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลสังกัดสถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข
title_full รูปแบบการพัฒนาตนเองและการวางแผนชีวิตวิชาชีพสำหรับนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลสังกัดสถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข
title_fullStr รูปแบบการพัฒนาตนเองและการวางแผนชีวิตวิชาชีพสำหรับนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลสังกัดสถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข
title_full_unstemmed รูปแบบการพัฒนาตนเองและการวางแผนชีวิตวิชาชีพสำหรับนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลสังกัดสถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข
title_sort รูปแบบการพัฒนาตนเองและการวางแผนชีวิตวิชาชีพสำหรับนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลสังกัดสถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2013
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32429
http://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1629
_version_ 1724630012289613824
spelling th-cuir.324292019-10-07T08:25:21Z รูปแบบการพัฒนาตนเองและการวางแผนชีวิตวิชาชีพสำหรับนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลสังกัดสถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข A model of self-development and professional life planning for nursing students in colleges of nursing under Praboromarajchanok Institute, Ministry of Public Health นงณภัทร รุ่งเนย ศรเนตร อารีโสภณพิเชฐ ปทีป เมธาคุณวุฒิ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ นักศึกษาพยาบาล การพัฒนาตนเอง วิชาชีพ พยาบาล -- การแนะแนวอาชีพ การพัฒนาอาชีพ Nursing students Self-culture Professions Nurses -- Vocational guidance Career development วิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553 การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์และสังเคราะห์แนวคิดเกี่ยวกับกระบวนการพัฒนาตนเองและการวางแผนชีวิตอาชีพ ศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาและอุปสรรคเกี่ยวกับการพัฒนาตนเองและการวางแผนชีวิตวิชาชีพของพยาบาลวิชาชีพสังกัดกระทรวงสาธารณสุข พัฒนาและประเมินประสิทธิผลของรูปแบบการพัฒนาตนเองและการวางแผนชีวิตวิชาชีพสำหรับนักศึกษาพยาบาล กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยมี 3 กลุ่ม คือ (1) พยาบาลวิชาชีพที่ประสบความสำเร็จในการประกอบวิชาชีพ จำนวน 15 คน (2) พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 340 คน และ (3) นักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 4 วิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี จำนวน 45 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ แบบสอบถาม แบบประเมินและแบบบันทึก การวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหาและสถิติเชิงบรรยาย ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนสองทางและการทดสอบที ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1.กระบวนการพัฒนาตนเองและการวางแผนชีวิตวิชาชีพ ประกอบด้วย 6 ขั้นตอน ได้แก่ (1) การศึกษาสภาพแวดล้อม (2) การประเมินตนเอง (3) การกำหนดภาพอนาคต (4) การวางแผนสำหรับอนาคต (5) การนำแผนไปสู่การปฏิบัติ และ (6) การประเมินผล 2.ค่าเฉลี่ยโดยรวมของการประเมินตนเองเกี่ยวกับการพัฒนาตนเองและการวางแผนชีวิตวิชาชีพของกลุ่มตัวอย่างพยาบาลวิชาชีพอยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย 2.44) ค่าเฉลี่ยของการประเมินตนเองเกี่ยวกับการพัฒนาตนเองและการวางแผนชีวิตวิชาชีพของกลุ่มตัวอย่างที่ปฏิบัติงานโรงพยาบาลศูนย์ต่ำกว่าโรงพยาบาลทั่วไปและโรงพยาบาลชุมชนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนาตนเองจำแนกเป็นปัญหาส่วนบุคคล ได้แก่ ขาดแคลนเงินทุน รองลงมา คือ ภาระครอบครัว และปัญหาจากหน่วยงาน ได้แก่ งบประมาณสนับสนุนไม่เพียงพอ รองลงมา คือ ผู้บังคับบัญชาไม่สนับสนุน 3.รูปแบบการพัฒนาตนเองและการวางแผนชีวิตวิชาชีพสำหรับนักศึกษาพยาบาล ประกอบด้วย หลักการ วัตถุประสงค์ ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวัง สาระการเรียนรู้ กระบวนการจัดกิจกรรมและการประเมินประสิทธิผลของรูปแบบ กระบวนการจัดกิจกรรมแบ่งเป็น 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 เสริมสร้างแรงจูงใจในการพัฒนาตนเองและวางแผนชีวิตวิชาชีพ 15 ชั่วโมง ระยะที่ 2 วางแผนพัฒนาตนเองและชีวิตวิชาชีพ 15 ชั่วโมง และระยะที่ 3 นำแผนไปสู่การปฏิบัติและติดตามผล 6 ชั่วโมง รวม 36 ชั่วโมง ภายใน 8 สัปดาห์ 4.ประสิทธิผลของรูปแบบการพัฒนาตนเองและการวางแผนชีวิตวิชาชีพสำหรับนักศึกษาพยาบาล พบว่าค่าเฉลี่ยสมรรถนะด้านการพัฒนาตนเองและการวางแผนชีวิตวิชาชีพตามการรับรู้ของนักศึกษาพยาบาลหลังทดลองเพิ่มขึ้นอยู่ในระดับดี (ค่าเฉลี่ย 4.30) และสูงกว่าก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (p = .000) คะแนนเฉลี่ยการพัฒนาตนเองและการวางแผนชีวิตวิชาชีพอยู่ในระดับดีมาก (คะแนนเฉลี่ยโดยรวม 0.98, ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน .0293) This research aimed to analyze and synthesize the concepts of self-development and career life planning process, to study the current situations, the problems and the obstacles to self-development and professional life planning of registered nurses (RNs) under the Ministry of Public health (MPH), to develop a model of self-development and professional life planning for nursing students, and to evaluate the effectiveness of a model of self-development and professional life planning for nursing students. There were 3 sample groups: (1) Fifteen RNs who demonstrated success in their careers (2) Three hundred and forty RNs practicing in hospitals under the MPH, and (3) Forty five fourth-year nursing students in Prachomklao College of Nursing. The instruments were the opened-end questions for in-depth interview, questionnaires, assessment form, and record form. Data were analyzed by means of content analysis and descriptive statistics: mean, percentage, standard deviation, two-way ANOVA, and paired t-test. The results were as follows: 1.Self-development and professional life planning process consisted of 6 stages: (1) scanning the environment (2) self assessment (3) determining one’s outlook on life (4) planning for the future (5) implementation and (6) evaluation 2.Total mean of self-development and professional life planning behavior of RNs were at moderate level ([x-bar] = 2.44) The mean of self-development and professional life planning behavior of RNs practicing in central hospital were less than RNs practicing in general and community hospital at statistically significant level of .05. Problems and obstacles to self-development were attributable to personal matters: the lack of fund accounted for the highest percentage, followed by family burden. For the organization-related problems, insufficient financial support was at the highest frequency; while, the second one was the unsupportive administrators. 3.Self-development and professional life planning model for nursing students consisted of: (1) principles (2) objectives (3) expected learning outcomes (4) learning contents (5) the process of activity arrangement, and (6) the model effectiveness. There were 3 stages of process of activity arrangement. The first stage was to enhance the motivation in self-development and professional life planning (15 hours). The second one was to plan self-development and professional life (15 hours), and the last one was to implement the plan and follow-up (6 hours). Thus, the activities lasted for 36 hours in total over the period of 8 weeks. 4.For the model effectiveness, it was revealed that the total post-training mean of nursing students’ perception of self-development and professional life planning competencies were at good level ([x-bar] = 4.30) and higher than pre-training one at statistically significant level of .01 (p=.000). Post-training mean score of self-development and professional life planning were at very good level ([x-bar] 0.98, SD .0293). 2013-06-24T08:07:23Z 2013-06-24T08:07:23Z 2553 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32429 10.14457/CU.the.2010.1629 th http://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1629 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย