แนวทางการอนุรักษ์และพัฒนาศาลเจ้าจีนในการพัฒนาเมืองและชุมชนภูเก็ต
วิทยานิพนธ์ (ผ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2013
|
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32444 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.32444 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Chulalongkorn University Library |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
description |
วิทยานิพนธ์ (ผ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539 |
author2 |
บรรณโศภิษฐ์ เมฆวิชัย |
author_facet |
บรรณโศภิษฐ์ เมฆวิชัย พงศ์สวัสดิ์ สระวาสี |
format |
Theses and Dissertations |
author |
พงศ์สวัสดิ์ สระวาสี |
spellingShingle |
พงศ์สวัสดิ์ สระวาสี แนวทางการอนุรักษ์และพัฒนาศาลเจ้าจีนในการพัฒนาเมืองและชุมชนภูเก็ต |
author_sort |
พงศ์สวัสดิ์ สระวาสี |
title |
แนวทางการอนุรักษ์และพัฒนาศาลเจ้าจีนในการพัฒนาเมืองและชุมชนภูเก็ต |
title_short |
แนวทางการอนุรักษ์และพัฒนาศาลเจ้าจีนในการพัฒนาเมืองและชุมชนภูเก็ต |
title_full |
แนวทางการอนุรักษ์และพัฒนาศาลเจ้าจีนในการพัฒนาเมืองและชุมชนภูเก็ต |
title_fullStr |
แนวทางการอนุรักษ์และพัฒนาศาลเจ้าจีนในการพัฒนาเมืองและชุมชนภูเก็ต |
title_full_unstemmed |
แนวทางการอนุรักษ์และพัฒนาศาลเจ้าจีนในการพัฒนาเมืองและชุมชนภูเก็ต |
title_sort |
แนวทางการอนุรักษ์และพัฒนาศาลเจ้าจีนในการพัฒนาเมืองและชุมชนภูเก็ต |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2013 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32444 |
_version_ |
1724696104665088000 |
spelling |
th-cuir.324442020-01-07T02:34:09Z แนวทางการอนุรักษ์และพัฒนาศาลเจ้าจีนในการพัฒนาเมืองและชุมชนภูเก็ต Guidelines for conservation and development of Chinese shrine in urban and community development of Phuket พงศ์สวัสดิ์ สระวาสี บรรณโศภิษฐ์ เมฆวิชัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย วิทยานิพนธ์ (ผ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539 การพัฒนาด้านการท่องเที่ยวของเกาะภูเก็ตได้เริ่มต้นมาเมื่อ ปี 2530 เนื่องจากผลของการเปลี่ยนแปลงบทบาทหน้าที่ของเมืองจากชุมชนเหมืองแร่ที่ตำกต่ำลง ประกอบกับในปีดังกล่าวรัฐบาลได้มีนโยบายและประกาศเป็นปีส่งเสริมการท่องเที่ยวไทย ทำให้มีนักท่องเที่ยวเดินทางเข้ามายังจังหวัดภูเก็ตมากยิ่งขึ้น และเพิ่มขึ้นถึง 2,5000,000 คนในปีปัจจุบัน โดยนักท่องเที่ยวส่วนใหญ่จะให้ความสนใจกับหาดทรายชายทะเล และทรัพยากรทางด้านการท่องเที่ยวแบบธรรมชาติมากกว่าแหล่งท่องเที่ยวทางด้านประวัติศาสตร์ ซึ่งมีอยู่เป็นจำนวนมากบนเกาะภูเก็ต ทั้งนี้เนื่องจากเกาะภูเก็ตเป็นพื้นที่ที่มีความเป็นมาทางประวัติศาสตร์อันยาวนาน รวมทั้งสภาพสังคมที่มีการผสมผสานทั้งทางด้านการใช้ที่ดินขนบธรรมเนียมประเพณี ลักษณะอาคารที่มีรูปแบบสถาปัตยกรรมที่น่าสนใจที่สะท้อนให้เห็นถึงสภาพของสังคมของชาวจีนและชาวไทยได้เป็นอย่างดีในการศึกษาครั้งนี้ได้นำเอาการใช้ที่ดินและอาคารซึ่งเป็นศาลเจ้าจีนโบราณที่มีอายุร่วม 80-100 ปี มาศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องทั้งในทางด้านกายภาพ บทบาทและหน้าที่ รวมทั้งความสัมพันธ์ที่มีต่อชุมชน โดยการกำหนดตัวชี้วัดเพื่อนำมาให้ค่าคะแนนแบ่งกลุ่มสำหรับการกำหนดแนวทางในการอนุรักษ์และพัฒนา เพื่อเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม โดยแบ่งเป็น 3 กลุ่มคือ กลุ่มที่ 1 ได้แก่ ศาลเจ้าบางเหนียว ศาลเจ้าจุ้ยตุ่ย และศาลเจ้าบุ่ดจ้อ กลุ่มที่ 2 ได้แก่ ศาลเจ้าแสงธรรม ศาลเจ้าแม่ย่านาง ศาลเจ้าท่าเรือ และศาลเจ้าปุ๋นเถ้าก๋ง กลุ่มที่ 3 ได้แก่ ศาลเจ้ากวนอู ศาลเจ้าเต้กุนไต่เต ศาลเจ้าสามอ๋องหู ศาลเจ้าต่องย่องสู ศาลเจ้านาคาและศาลเจ้าทุ่งทอง หลังจากนั้นจึงได้กำหนดแนวทางในการอนุรักษ์ในส่วนที่เกี่ยวข้อง ลักษณะทางด้านสถาปัตยกรรม และการตกแต่งภายในของอาคาร และพัฒนาในส่วนที่เป็นตัวอาคาร สภาพการใช้ที่ดิน และการเข้าถึงและการจัดเตรียมสิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว พร้อมทั้งเสนอแนะให้มีการปรับปรุงแก้ไขกฎหมายและระเบียบต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการบริหาร จัดการศาลเจ้าจันให้มี่ความคล่องตัวมากยิ่งขึ้น ที่สำคัญคือจะต้องประสานการพัฒนากับภาคเอกชนในการที่จะผลักดันให้ศาลเจ้าจีนเหล่านี้อยู่ในเส้นทางการท่องเที่ยวด้วยการศึกษาเพื่อกำหนดแนวทางเพื่ออนุรักษ์และพัฒนาดังกล่าวจะส่งผลต่อการพัฒนาเมืองภูเก็ตตามบทบาทหน้าที่ที่เป็นเมืองท่องเที่ยวโดยตรง ซึ่งนอกจากจะเป็นการเพิ่มทรัพยากรทางด้านการท่องเที่ยวที่เป็นแหล่งประวัติศาสตร์แล้ว ก็จะเป็นการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมของชุมชนที่มีการผสมผสานระหว่างชาวไทยและชาวจีนให้สืบต่อไปอีกด้วย Due to the changes of its role from the declined mineral communities together with the govemment policy to promote the 1987 as the Thailand Tourist Year Up to the present year, The development of Phuket tourism has started in 1987 Phuket has served nearly 2,500,000 tourists of whose main interests are focused on beach, sea, and natural resources rather than historical resources. According to its long history, its societies are characterized by the integration of land uses, tradition, and culture. The architectures are fascinated and well reflected to the living life of the Thai – Chinese societies. This study has intended to gather information on land and building uses of the ancient Chinese Shrines aged about 80-100 years old in order to analyze on them physical aspects, roles and function in relation to the communities. The method was to design “The weight – factors” and utilized them to classify the conservation and development guideline for cultural tourism into 3 group : Group 1 Bangniow Shrine, Katu Shrine, Jui – Tui Shrine, Pudjaw Shrine; Group 2 Saeng Dhama Shrine, Mae Yanang Shrine, Tharua Shrine, Punthao Kong Shrine ; and Group 3 Kuan – Ou Shrine, Tae Kun Tai Tae Shrine, San Ong hu Shrine, Tong Yong Su Shrine, Naka Shrine, Thung Thong Shrine Then, the relevant concepts were taken into consideration such as architectural characteristic, interior design, building renewal land uses and accessibility, basic utilities for tourism recommendation of low amendment to proper the Shrine management, coordination with private sectors to promote these Shrines into the tourist. This study will create direct effect on the development of Phuket tourism which benefit not only to increase the number of historical tourist resources but also to conserve the culture heritage of their integrated Thai-Chinese societies as well. 2013-06-24T10:44:04Z 2013-06-24T10:44:04Z 2539 Thesis 9746355457 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32444 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |