สถานะและการประยุกต์ใช้แบบจำลองข้อมูลอาคารในองค์การก่อสร้าง
วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2013
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32590 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.32590 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
แบบจำลองข้อมูลอาคาร อาคาร -- คอมพิวเตอร์ช่วยการออกแบบ อุตสาหกรรมการก่อสร้าง -- การจัดการทรัพยากรสารสนเทศ อุตสาหกรรมการก่อสร้าง -- การประมวลผลข้อมูล การออกแบบระบบ Building information modeling Buildings -- Computer-aided design Construction industry -- Information resources management Construction industry -- Data processing System design |
spellingShingle |
แบบจำลองข้อมูลอาคาร อาคาร -- คอมพิวเตอร์ช่วยการออกแบบ อุตสาหกรรมการก่อสร้าง -- การจัดการทรัพยากรสารสนเทศ อุตสาหกรรมการก่อสร้าง -- การประมวลผลข้อมูล การออกแบบระบบ Building information modeling Buildings -- Computer-aided design Construction industry -- Information resources management Construction industry -- Data processing System design พีรพัฒน์ วณิชลักษมี สถานะและการประยุกต์ใช้แบบจำลองข้อมูลอาคารในองค์การก่อสร้าง |
description |
วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553 |
author2 |
วัชระ เพียรสุภาพ |
author_facet |
วัชระ เพียรสุภาพ พีรพัฒน์ วณิชลักษมี |
format |
Theses and Dissertations |
author |
พีรพัฒน์ วณิชลักษมี |
author_sort |
พีรพัฒน์ วณิชลักษมี |
title |
สถานะและการประยุกต์ใช้แบบจำลองข้อมูลอาคารในองค์การก่อสร้าง |
title_short |
สถานะและการประยุกต์ใช้แบบจำลองข้อมูลอาคารในองค์การก่อสร้าง |
title_full |
สถานะและการประยุกต์ใช้แบบจำลองข้อมูลอาคารในองค์การก่อสร้าง |
title_fullStr |
สถานะและการประยุกต์ใช้แบบจำลองข้อมูลอาคารในองค์การก่อสร้าง |
title_full_unstemmed |
สถานะและการประยุกต์ใช้แบบจำลองข้อมูลอาคารในองค์การก่อสร้าง |
title_sort |
สถานะและการประยุกต์ใช้แบบจำลองข้อมูลอาคารในองค์การก่อสร้าง |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2013 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32590 |
_version_ |
1681412905563586560 |
spelling |
th-cuir.325902013-07-01T08:28:51Z สถานะและการประยุกต์ใช้แบบจำลองข้อมูลอาคารในองค์การก่อสร้าง A stage and implementation of building information modeling in construction organizations พีรพัฒน์ วณิชลักษมี วัชระ เพียรสุภาพ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ แบบจำลองข้อมูลอาคาร อาคาร -- คอมพิวเตอร์ช่วยการออกแบบ อุตสาหกรรมการก่อสร้าง -- การจัดการทรัพยากรสารสนเทศ อุตสาหกรรมการก่อสร้าง -- การประมวลผลข้อมูล การออกแบบระบบ Building information modeling Buildings -- Computer-aided design Construction industry -- Information resources management Construction industry -- Data processing System design วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553 ปัจจุบันแนวคิดแบบจำลองข้อมูลของอาคารถูกนำไปประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมก่อสร้างในหลายประเทศ และได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย เนื่องจากแนวคิดดังกล่าวช่วยให้การบริหารจัดการข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์มีประสิทธิภาพมากขึ้น ลดการทำงานที่ซ้ำซ้อน และลดข้อผิดพลาดในการแลกเปลี่ยนข้อมูล ซึ่งแนวคิดดังกล่าวใช้หลักการสร้างแบบจำลองของอาคารในลักษณะ 3 มิติและรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวกับโครงการก่อสร้างในแบบจำลอง อย่างไรก็ตามการรับแนวคิดดังกล่าวมาประยุกต์ใช้จำเป็นต้องมีการศึกษาแนวทาง ประโยชน์ ปัญหาอุปสรรคและข้อจำกัดในการประยุกต์ใช้ โดยงานวิจัยเก็บข้อมูลจากกรณีศึกษาเพื่อวิเคราะห์เชิงบรรยายเกี่ยวกับระดับสถานะการประยุกต์ใช้แบบจำลองข้อมูลอาคารและรูปแบบการประยุกต์ใช้ในองค์การก่อสร้าง รวมทั้งวิเคราะห์เปรียบเทียบประโยชน์ที่ได้รับและปัญหาอุปสรรคที่พบจากการประยุกต์ใช้แนวคิดดังกล่าวในกรณีศึกษา จากการศึกษาพบว่าปัจจุบันระดับสถานะการประยุกต์ใช้แนวคิดดังกล่าวอยู่ในระดับเริ่มต้น และมีหลายประเด็นสำคัญที่เป็นปัญหาอุปสรรคและข้อจำกัดหลายด้านที่ทำให้การประยุกต์ใช้แนวคิดดังกล่าวไม่ราบรื่นซึ่งจำแนกตามสาเหตุที่ทำให้เกิดปัญหาเป็น 4 ด้าน อย่างไรก็ตามกรณีศึกษายังพบประโยชน์ที่ได้รับจากการประยุกต์ใช้หลายด้าน นอกจากนี้งานวิจัยมีการวิเคราะห์เปรียบเทียบวิธีการปฏิบัติงาน 3 วิธี คือ วิธีการปฏิบัติงานทั่วไปโดยใช้แบบก่อสร้างสองมิติ วิธีการปฏิบัติงานที่มีการประยุกต์ใช้ไม่สมบูรณ์โดยใช้แบบก่อสร้างสองมิติร่วมกับแบบจำลองข้อมูลอาคารและวิธีการปฏิบัติงานโดยการประยุกต์ใช้แนวคิดแบบจำลองข้อมูลอาคารอย่างสมบูรณ์ เพื่อศึกษาความซับซ้อนของขั้นตอนการทำงาน ต้นทุนของการทำงาน ระยะเวลาของการทำงานและคุณภาพของข้อมูลจากการคำนวณปริมาณ นอกจากนี้งานวิจัยนำเสนอแนวทางการพัฒนาระบบต้นแบบสนับสนุนการประมาณราคาสำหรับวิธีการประยุกต์ใช้แบบจำลองข้อมูลอาคาร เพื่อลดปัญหาความผิดพลาดของข้อมูลปริมาณวัสดุ จากการศึกษาพบว่าวิธีการปฏิบัติงานโดยการประยุกต์ใช้แบบจำลองข้อมูลอาคารอย่างสมบูรณ์ใช้ระยะเวลาน้อยกว่าวิธีการปฏิบัติงานทั่วไป ดังนั้นจึงควรมีการศึกษาแนวทางประยุกต์ใช้แนวคิดแบบจำลองข้อมูลของอาคารอย่างละเอียดเพื่อสนับสนุนให้เกิดแนวทางการประยุกต์ใช้อย่างเป็นรูปธรรมและถูกต้อง เนื่องจากในอนาคตอันใกล้เชื่อว่าแนวคิดแบบจำลองข้อมูลของอาคารจะมีบทบาทสำคัญในอุตสาหกรรมก่อสร้าง Nowadays, Building Information Modeling (BIM) has been developed and used in construction industry for improving electronic information management efficiency, reducing reworking and reduce error of information exchange. The principle of BIM is 3D modeling that contains project related information. However, this approach requires understanding guideline of working process, benefits and barriers of using its. This research collected data from case study to descriptive analyze about stage and pattern of BIM implementation in construction organizations and to comparative analyze about benefit perception and identify barrier of this concept using in case study. The study found that current stage of BIM implementation is minimum BIM and case study has many barriers that can be categorized into 4 groups. However the study found many aspects of benefits from this approach as well. In addition, this research has comparative analysis of BIM implementation approach with general approach and study complexity of working process, duration of working, cost of working and quality of quantity take off information. Besides, this research proposes estimate supporting system to reduce the mistake of the quantity information. The study found that BIM approach has more complex process but less duration of working and more quantity take off quality. Therefore, the future research should be study BIM applying in detail to encourage arising concrete and right way of BIM using direction because this approach will have a major role in construction industry in the future. 2013-07-01T08:28:51Z 2013-07-01T08:28:51Z 2553 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32590 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |