ความสัมพันธ์ระหว่างยีนเมทริกซ์เมตาโลโปรตีนเนส-3 กับการเกิดเอ็นไขว้หน้าข้อเข่าฉีกขาด

วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: สมเกียรติ มลิลา
Other Authors: สิทธิศักดิ์ หรรษาเวก
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2013
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/33154
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.33154
record_format dspace
spelling th-cuir.331542013-07-16T13:40:40Z ความสัมพันธ์ระหว่างยีนเมทริกซ์เมตาโลโปรตีนเนส-3 กับการเกิดเอ็นไขว้หน้าข้อเข่าฉีกขาด The association between matrix metalloproteinase-3 and anterior cruciate ligament rupture สมเกียรติ มลิลา สิทธิศักดิ์ หรรษาเวก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์ เอ็นไขว้หน้าในข้อเข่า -- บาดแผลและบาดเจ็บ ยีนเมทริกซ์เมตาโลโปรตีนเนส-3 การแสดงออกของยีน Anterior cruciate ligament -- Wounds and injuries Matrix metalloproteinase-3 Gene expression วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553 เอ็นไขว้หน้าข้อเข่าฉีกขาดเป็นการบาดเจ็บที่พบได้บ่อยในกลุ่มนักกีฬา ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับสาเหตุของการเกิดยังไม่เป็นที่ทราบแน่ชัด แต่มีปัจจัยภายในที่สำคัญและอาจมีส่วนเกี่ยวข้องคือ การเปลี่ยนแปลงของรหัสพันธุกรรมในตัวผู้ป่วยเอง ซึ่งการศึกษาในครั้งนี้ได้ให้ความสนใจในเกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมของยีน matrix metalloproteinase-3 (MMP-3) เอนไซม์ MMP-3 นี้ทำหน้าที่ในการสลาย extracellular matrix และอาจมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเกิดเอ็นไขว้หน้าข้อเข่าฉีกขาดได้ การเกิดการเปลี่ยนแปลงของยีน MMP-3 นั้นมีผลต่อการแสดงออกของยีน MMP-3 ดังนั้นจึงทำการศึกษาเพื่อหาความสัมพันธ์ของการเกิดการเปลี่ยนแปลงของยีน MMP-3 ร่วมกับการเกิดเอ็นไขว้หน้าข้อเข่าฉีกขาด ซึ่งการศึกษาในครั้งนี้ได้ทำการศึกษาในกลุ่มผู้ป่วยเอ็นไขว้หน้าข้อเข่าฉีกขาดอายุระหว่าง 20 - 40 ปีจำนวน 100 ราย และกลุ่มควบคุมที่ไม่เคยมีประวัติของการบาดเจ็บของข้อเข่ามาก่อน มีอายุอยู่ระหว่าง 18 - 28 ปีจำนวน 100 ราย ตัวอย่างทั้งหมดถูกนำมาศึกษาวิเคราะห์ความหลากหลายทางพันธุกรรมของยีน MMP-3 ที่ตำแหน่ง -1612 จากนั้นจึงนำผลที่ได้มาวิเคราะห์ทางสถิติโดยใช้ Chi square test ซึ่งผลที่ได้แสดงให้เห็นว่า กลุ่มผู้ป่วยเอ็นไขว้หน้าข้อเข่าขาดที่เกิดจากการกระแทกนั้นมีความสัมพันธ์กับการเกิดการเปลี่ยนแปลงของยีน คือ 5A+ (5A/5A, 5A/6A): ร้อยละ 37.5 ต่อ ร้อยละ 20 เมื่อเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มผู้ป่วยที่มีสาเหตุการขาดของเอ็นไขว้หน้าข้อเข่าที่ไม่ได้เกิดจากการกระแทก (P=0.02) และในระดับอัลลีลพบว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญของอัลลีล 6A และ 5A ระหว่างกลุ่มผู้ป่วย 2 กลุ่มที่มีสาเหตุของการขาดของเอ็นไขว้หน้าที่แตกต่างกัน (6A: ร้อยละ 81.2 ต่อ ร้อยละ 89.1 5A ร้อยละ18.8 ต่อ ร้อยละ 10.9 P=0.01) ซึ่งอัลลีล 5A พบได้มากในกลุ่มผู้ป่วยเอ็นไขว้หน้าข้อเข่าขาดที่มีสาเหตุมาจากการกระแทก ผลการศึกษาอาจสรุปได้ว่ายีน MMP-3 น่าจะมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเกิดเอ็นไขว้หน้าข้อเข่าฉีกขาด Anterior cruciate ligament (ACL) rupture is considered the most severe injury in sports. However, the precise aetiologies of ACL injuries are not fully understood. Recently, the gene encoding for the matrix metalloproteinase-3 (MMP-3, stromelysin-1) has been shown to be associated with anterior cruciate ligament rupture. The 5A/6A polymorphism in the promoter of MMP-3 gene affects the regulation of MMP-3 gene expression. The aim of this study was to determine the association between polymorphism within -1612 of MMP-3 gene and ACL rupture in an independent population. A total of 100 participants between 20 to 40 years of age with surgically diagnosed ACL ruptures and 100 healthy controls between 18 to 28 years of age without history of ligament or tendon injuries were recruited in the study. All participants were genotyped for the MMP-3 polymorphism (-1612 5A/6A). Statistical analyses of genotype frequencies between patients and healthy controls were performed by Chi-square test. The significant difference was found between ACL rupture subgroups in term of genotype association (5A+ (5A/5A, 5A/6A): 37.5% in contact sports vs. 20.0% in non-contact sports; P = 0.02). In allelic association, there was statistically significant (6A: 81.2% in contact sports vs. 89.1% in non-contact sports, 5A: 18.8% in contact sports vs. 10.9% in non-contact sports, P = 0.01). The 5A+ genotype of MMP-3 was represented in ACL ruptures with contact sport participants. We propose that this sequence variant is the specific genetic element to be included in multifactorial model to understand the aetiologies and risk factors for ACL rupture. 2013-07-16T13:40:40Z 2013-07-16T13:40:40Z 2553 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/33154 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic เอ็นไขว้หน้าในข้อเข่า -- บาดแผลและบาดเจ็บ
ยีนเมทริกซ์เมตาโลโปรตีนเนส-3
การแสดงออกของยีน
Anterior cruciate ligament -- Wounds and injuries
Matrix metalloproteinase-3
Gene expression
spellingShingle เอ็นไขว้หน้าในข้อเข่า -- บาดแผลและบาดเจ็บ
ยีนเมทริกซ์เมตาโลโปรตีนเนส-3
การแสดงออกของยีน
Anterior cruciate ligament -- Wounds and injuries
Matrix metalloproteinase-3
Gene expression
สมเกียรติ มลิลา
ความสัมพันธ์ระหว่างยีนเมทริกซ์เมตาโลโปรตีนเนส-3 กับการเกิดเอ็นไขว้หน้าข้อเข่าฉีกขาด
description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553
author2 สิทธิศักดิ์ หรรษาเวก
author_facet สิทธิศักดิ์ หรรษาเวก
สมเกียรติ มลิลา
format Theses and Dissertations
author สมเกียรติ มลิลา
author_sort สมเกียรติ มลิลา
title ความสัมพันธ์ระหว่างยีนเมทริกซ์เมตาโลโปรตีนเนส-3 กับการเกิดเอ็นไขว้หน้าข้อเข่าฉีกขาด
title_short ความสัมพันธ์ระหว่างยีนเมทริกซ์เมตาโลโปรตีนเนส-3 กับการเกิดเอ็นไขว้หน้าข้อเข่าฉีกขาด
title_full ความสัมพันธ์ระหว่างยีนเมทริกซ์เมตาโลโปรตีนเนส-3 กับการเกิดเอ็นไขว้หน้าข้อเข่าฉีกขาด
title_fullStr ความสัมพันธ์ระหว่างยีนเมทริกซ์เมตาโลโปรตีนเนส-3 กับการเกิดเอ็นไขว้หน้าข้อเข่าฉีกขาด
title_full_unstemmed ความสัมพันธ์ระหว่างยีนเมทริกซ์เมตาโลโปรตีนเนส-3 กับการเกิดเอ็นไขว้หน้าข้อเข่าฉีกขาด
title_sort ความสัมพันธ์ระหว่างยีนเมทริกซ์เมตาโลโปรตีนเนส-3 กับการเกิดเอ็นไขว้หน้าข้อเข่าฉีกขาด
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2013
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/33154
_version_ 1681413557034418176