การประเมินทางเศรษฐศาสตร์การบริการพื้นฐานการให้คำปรึกษาและตรวจคัดกรองการติดเชื้อเอชไอวี แก่ผู้มารับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลชุมชนในประเทศไทย

วิทยานิพนธ์ (วท.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: ยุวดี ลีลัคนาวีระ
Other Authors: พรชัย สิทธิศรัณย์กุล
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2013
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/33312
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.33312
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic เศรษฐศาสตร์การแพทย์ -- ไทย
โรงพยาบาล -- แผนกผู้ป่วยนอก
ผู้ติดเชื้อเอชไอวี -- การให้คำปรึกษา
Medical economics -- Thailand
Hospitals -- Outpatient service
HIV-positive persons -- Counseling
spellingShingle เศรษฐศาสตร์การแพทย์ -- ไทย
โรงพยาบาล -- แผนกผู้ป่วยนอก
ผู้ติดเชื้อเอชไอวี -- การให้คำปรึกษา
Medical economics -- Thailand
Hospitals -- Outpatient service
HIV-positive persons -- Counseling
ยุวดี ลีลัคนาวีระ
การประเมินทางเศรษฐศาสตร์การบริการพื้นฐานการให้คำปรึกษาและตรวจคัดกรองการติดเชื้อเอชไอวี แก่ผู้มารับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลชุมชนในประเทศไทย
description วิทยานิพนธ์ (วท.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552
author2 พรชัย สิทธิศรัณย์กุล
author_facet พรชัย สิทธิศรัณย์กุล
ยุวดี ลีลัคนาวีระ
format Theses and Dissertations
author ยุวดี ลีลัคนาวีระ
author_sort ยุวดี ลีลัคนาวีระ
title การประเมินทางเศรษฐศาสตร์การบริการพื้นฐานการให้คำปรึกษาและตรวจคัดกรองการติดเชื้อเอชไอวี แก่ผู้มารับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลชุมชนในประเทศไทย
title_short การประเมินทางเศรษฐศาสตร์การบริการพื้นฐานการให้คำปรึกษาและตรวจคัดกรองการติดเชื้อเอชไอวี แก่ผู้มารับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลชุมชนในประเทศไทย
title_full การประเมินทางเศรษฐศาสตร์การบริการพื้นฐานการให้คำปรึกษาและตรวจคัดกรองการติดเชื้อเอชไอวี แก่ผู้มารับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลชุมชนในประเทศไทย
title_fullStr การประเมินทางเศรษฐศาสตร์การบริการพื้นฐานการให้คำปรึกษาและตรวจคัดกรองการติดเชื้อเอชไอวี แก่ผู้มารับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลชุมชนในประเทศไทย
title_full_unstemmed การประเมินทางเศรษฐศาสตร์การบริการพื้นฐานการให้คำปรึกษาและตรวจคัดกรองการติดเชื้อเอชไอวี แก่ผู้มารับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลชุมชนในประเทศไทย
title_sort การประเมินทางเศรษฐศาสตร์การบริการพื้นฐานการให้คำปรึกษาและตรวจคัดกรองการติดเชื้อเอชไอวี แก่ผู้มารับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลชุมชนในประเทศไทย
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2013
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/33312
_version_ 1681413754338672640
spelling th-cuir.333122013-07-22T10:23:27Z การประเมินทางเศรษฐศาสตร์การบริการพื้นฐานการให้คำปรึกษาและตรวจคัดกรองการติดเชื้อเอชไอวี แก่ผู้มารับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลชุมชนในประเทศไทย An economic evaluation of routine offer HIV counseling and testing of out patients at community hospitals in Thailand ยุวดี ลีลัคนาวีระ พรชัย สิทธิศรัณย์กุล นรินทร์ หิรัญสุทธิกุล ยศ ตีระวัฒนานนท์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์ เศรษฐศาสตร์การแพทย์ -- ไทย โรงพยาบาล -- แผนกผู้ป่วยนอก ผู้ติดเชื้อเอชไอวี -- การให้คำปรึกษา Medical economics -- Thailand Hospitals -- Outpatient service HIV-positive persons -- Counseling วิทยานิพนธ์ (วท.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความคุ้มค่าของการเสนอบริการให้คำปรึกษาและตรวจคัดกรองการติดเชื้อเอชไอวีเป็นบริการพื้นฐาน แก่ผู้รับบริการแผนกผู้ป่วยนอก ร่วมกับระบบการดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่มีอยู่ในโรงพยาบาลชุมชนเปรียบเทียบกับบริการตรวจการติดเชื้อเอชไอวีที่มีอยู่ในปัจจุบัน รูปแบบการศึกษาเป็นการประเมินทางเศรษฐศาสตร์ด้วยการสร้างแบบจำลอง โดยมีข้อมูลจากการทดลองใส่มาตรการเสนอบริการให้คำปรึกษาและตรวจการติดเชื้อเอชไอวีเป็นบริการพื้นฐาน ในโรงพยาบาลชุมชนจำนวน 16 แห่ง เพื่อศึกษาประสิทธิผลและต้นทุนของมาตรการนี้ และมีการเก็บข้อมูลคุณภาพชีวิตและต้นทุนในส่วนที่ผู้ติดเชื้อและครอบครัวต้องจ่ายจากผู้ติดเชื้อเอชไอวีจำนวน 1,277 คน โดยใช้เครื่องมือการเก็บข้อมูลต้นทุนที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น และประเมินคุณภาพชีวิต โดยใช้แบบวัด EuroQOL (EQ-5D และ EQ-VAS) วิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา ได้แก่ จำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่ามัธยฐาน และ ช่วงความเชื่อมั่นที่ร้อยละ 95 ด้วยโปรแกรม SPSS วิเคราะห์ต้นทุน-อรรถประโยชน์ และอัตราส่วนต้นทุนประสิทธิผลส่วนเพิ่มของมาตรการเสนอบริการให้คำปรึกษาและตรวจการติดเชื้อเอชไอวีเป็นบริการพื้นฐาน เปรียบเทียบกับบริการตรวจการติดเชื้อเอชไอวีที่มีอยู่ในปัจจุบัน ในมุมมองของผู้ให้บริการและมุมมองสังคมโดยการสร้างแบบจำลอง semi-Markov model และวิเคราะห์ความไม่แน่นอนของตัวแปรในแบบจำลองด้วยการวิเคราะห์ probabilistic sensitivity analysis ผลการศึกษาพบว่าคุณภาพชีวิตของผู้ติดเชื้อเอชไอวีในระยะไม่มีอาการ ระยะมีอาการเกี่ยวข้องกับการติดเชื้อเอชไอวี และ ระยะเอดส์เต็มขั้น มีค่าเท่ากับ 0.8605, 0.8529, 0.7220 ในกลุ่มที่ยังไม่ได้รับยาต้านไวรัส และเท่ากับ 0.8221, 0.7994, 0.7591 สำหรับกลุ่มที่อยู่ระหว่างการได้รับยาต้านไวรัสตามลำดับ มาตรการใหม่นี้ช่วยยืดอายุให้ยืนยาวขึ้น 5.18 วันหรือ 4.15 วันสุขภาวะต่อผู้รับบริการ 1 คนเมื่อเทียบกับบริการรูปแบบปัจจุบัน อัตราส่วนต้นทุนประสิทธิผลส่วนเพิ่มเท่ากับ 63,588 บาท/ปีสุขภาวะที่เพิ่มขึ้น การวิเคราะห์ความไวและการวิเคราะห์กลุ่มย่อยตามอายุผู้รับบริการซึ่งมีความสัมพันธ์กับอัตราชุกและอัตราอุบัติการณ์พบว่าถ้าความเต็มใจจ่ายของผู้มีอำนาจตัดสินใจเท่ากับ 100,000 บาท/ปีสุขภาวะ มาตรการใหม่นี้จะมีความคุ้มค่าเมื่อให้บริการกับผู้ที่มีอายุต่ำกว่า 50 ปี อย่างไรก็ตามมาตรการใหม่นี้จะมีความคุ้มค่าเมื่อให้บริการกับผู้รับบริการที่อายุ 13-64 ปี ถ้าผู้มีอำนาจตัดสินใจมีความเต็มใจจ่ายให้กับมาตรการทางสุขภาพที่มีอัตราส่วนต้นทุนประสิทธิผลส่วนเพิ่มน้อยกว่า 3 เท่าของผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติหรือ 385,821 บาทต่อปีสุขภาวะ The purpose of this study was to determine incremental cost effectiveness ratios in terms of baht per Quality Adjusted Life Year (QALY) of routine offer HIV counseling and testing intervention in community hospitals compared with current practice. The model based health economic evaluation study was conducted based on results from a cluster randomized control trial in 16 community hospitals. A total of 1,277 participants from the study completed questionnaires on their household expenditure and quality of life using EQ-5D instrument. Data on costs and quality of life were analyzed using software SPSS describing percentage, standard deviation, median and 95% confidence interval. A model based health economic evaluation study was performed, using semi-Markov model to determine a value of money of routine offer HIV counseling and testing intervention in community hospitals compared with current practice using the view point of provider and social perspective. The probabilistic sensitivity analysis was used to explore parameter uncertainty in the model. The results showed that the utilities of asymptomatic HIV, symptomatic HIV and AIDS were 0.8605, 0.8529 and 0.7220 for no ARV group and 0.8221, 0.7994, 0.7591 for ARV group respectively. Routine offer HIV counseling and testing program increase a patient’s life day gain 5.18 days or 4.15 quality adjusted days per client and the incremental cost-effectiveness ratio was 63,588 Baht/QALY. Sensitivity and sub group analysis with client’s age stratification, which associated with the prevalence and incidence rate, showed that the routine offer HIV counseling and testing intervention will be cost-effective for clients younger than 50 years old. However, this intervention will be cost-effective for all 13-64 years old clients if the ceiling threshold of willing to pay equals 3 times per capita Gross Domestic Product or 385,821 Baht/QALY. 2013-07-22T10:23:27Z 2013-07-22T10:23:27Z 2552 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/33312 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย application/pdf ไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย