ซินเดอเรลลา : จากเทพนิยายสู่วรรณกรรม
วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2013
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/33334 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.33334 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cuir.333342013-07-23T02:49:38Z ซินเดอเรลลา : จากเทพนิยายสู่วรรณกรรม Cinderella : from fairy tale to literature อาจารีย์ สุทธิโรจน์ กองกาญจน์ ตะเวทีกุล, ม.ร.ว. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์ เทพนิยาย -- ฝรั่งเศส วรรณกรรมสำหรับเด็ก ซินเดอเรลลา -- ตัวละคร โครงเรื่อง Fairy tales -- France Children's literature Plots (Drama, novel, etc.) วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาการนำแบบเรื่องซินเดอเรลลามาประยุกต์ใช้ในวรรณกรรมร่วมสมัยประเภทนวนิยายจำนวน 11 เรื่อง โดยวิเคราะห์จากองค์ประกอบต่าง ๆ ทั้งในแบบเรื่องซินเดอเรลลาและในนวนิยายเพื่อแสดงให้เห็นถึงความแตกต่างในการนำแบบเรื่องซินเดอเรลลามาประยุกต์ใช้ จากการศึกษาพบว่าการนำแบบเรื่องซินเดอเรลลามาประยุกต์ใช้แบ่งได้ 2 ลักษณะหลักคือ การนำแบบเรื่องซินเดอเรลลามาใช้โดยคงเนื้อเรื่องหลักไว้ตามเดิม และการใช้เค้าโครงของแบบเรื่องซินเดอเรลลาแล้วนำมาแต่งเพิ่มเติม การนำแบบเรื่องซินเดอเรลลามาใช้โดยคงเนื้อเรื่องหลักไว้ตามเดิม เป็นการนำแบบเรื่องซินเดอเรลลามาใช้โดยตรงและระบุชัดเจนว่านำเทพนิยายที่ใช้แบบเรื่องซินเดอเรลลาเรื่องใดมาใช้ มีการให้ความสำคัญแก่ตัวละครเอกมากขึ้น นำเสนอความรู้สึกนึกคิดของตัวละครเอก รวมถึงเหตุผลให้การกระทำต่าง ๆ เพื่อแสดงกระบวนการก้าวสู่ความเป็นตัวของตัวเองของตัวละครเอกซึ่งเป็นแก่นเรื่องของวรรณกรรมที่นำมาศึกษา ส่วนการใช้เค้าโครงของแบบเรื่องซินเดอเรลลาแล้วนำมาแต่งเพิ่มเติมแบ่งย่อย ได้อีก 2 ลักษณะคือ การคงโครงเรื่องหลักของแบบเรื่องซินเดอเรลลาไว้ แต่ปรับเปลี่ยนองค์ประกอบและรายละเอียดบางอย่าง และการใช้แบบเรื่องซินเดอเรลลาเป็นพื้นเพื่อเล่าเรื่องราวอื่น ลักษณะแรกมีการเปลี่ยนสถานภาพของตัวละครจากเจ้าหญิงเจ้าชายเป็นคนธรรมดา เปลี่ยนบทบาทของตัวละครเอก หรือเปลี่ยนแปลงฉากและช่วงเวลาในเรื่องให้เป็นเรื่องร่วมสมัย ทำให้สามารถนำเสนอปมปัญหาของตัวละครเอกแต่ละตัว ทั้งที่เกี่ยวกับครอบครัวและความรักซึ่งพบได้ทั่วไปในสังคมปัจจุบัน นำเสนอพัฒนาการของตัวละครที่ผ่านพ้นปัญหาต่าง ๆ เป็นตัวของตัวเองและเป็นส่วนหนึ่งของสังคมไปพร้อมกันได้ ส่วนการใช้ในลักษณะที่สองนั้นปฏิเสธเรื่องราวที่เกิดขึ้นในแบบเรื่องซินเดอเรลลา ทั้งการใช้เวทมนตร์ของนางฟ้าแม่ทูนหัว และการที่ตัวละครเอกถูกกลั่นแกล้ง เพื่อแสดงให้เห็นการก้าวสู่ความเป็นตัวของตัวเองของตัวละครเอก ทำให้ตัวละครเอกสามารถเลือกเส้นทางชีวิตที่ตนต้องการได้ในที่สุด The objectives of this thesis are to study the adaptations of Cinderella from the fairy tale into 11 novels to analyze the elements both from the fairy tale and novels, and to show the differences between these adaptations. The study shows that the adaptations can be categorized into two groups: the one in which the main details of the story are retained, and the other in which the main plot is kept with some additional information. In the first group, the important details are directly retold and the original source of the story is specifically referenced. Main characters are highlighted, with emphasis on their thoughts and feelings and motivation for their actions as part of the development of these characters into self-determining individuals that form the theme of the novels. The second group in which the main plot is kept with some alterations can be subdivided into two groups: the first in which the main plot is retained with alterations to some elements and narrative details, and the second in which the original plot is altered to tell different stories. In the first sub-group, the royal characters are changed to ordinary people, the roles of the main protagonists are changed, including the rendering of the setting and time of the original story into contemporary scenes so as to present the characters' problems and conflicts as comparable to those encountered in contemporary society. In the second sub-group, the core elements of the original story-the use of the fairy godmother, the abuses and the triumph of Cinderella-are radically altered and reinterpreted so as to enable the development of characters from fairy tale stereotypes to self-determining individuals. 2013-07-23T02:49:38Z 2013-07-23T02:49:38Z 2552 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/33334 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย application/pdf ฝรั่งเศส จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
เทพนิยาย -- ฝรั่งเศส วรรณกรรมสำหรับเด็ก ซินเดอเรลลา -- ตัวละคร โครงเรื่อง Fairy tales -- France Children's literature Plots (Drama, novel, etc.) |
spellingShingle |
เทพนิยาย -- ฝรั่งเศส วรรณกรรมสำหรับเด็ก ซินเดอเรลลา -- ตัวละคร โครงเรื่อง Fairy tales -- France Children's literature Plots (Drama, novel, etc.) อาจารีย์ สุทธิโรจน์ ซินเดอเรลลา : จากเทพนิยายสู่วรรณกรรม |
description |
วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 |
author2 |
กองกาญจน์ ตะเวทีกุล, ม.ร.ว. |
author_facet |
กองกาญจน์ ตะเวทีกุล, ม.ร.ว. อาจารีย์ สุทธิโรจน์ |
format |
Theses and Dissertations |
author |
อาจารีย์ สุทธิโรจน์ |
author_sort |
อาจารีย์ สุทธิโรจน์ |
title |
ซินเดอเรลลา : จากเทพนิยายสู่วรรณกรรม |
title_short |
ซินเดอเรลลา : จากเทพนิยายสู่วรรณกรรม |
title_full |
ซินเดอเรลลา : จากเทพนิยายสู่วรรณกรรม |
title_fullStr |
ซินเดอเรลลา : จากเทพนิยายสู่วรรณกรรม |
title_full_unstemmed |
ซินเดอเรลลา : จากเทพนิยายสู่วรรณกรรม |
title_sort |
ซินเดอเรลลา : จากเทพนิยายสู่วรรณกรรม |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2013 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/33334 |
_version_ |
1681413207137189888 |