การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความสามารถของตนเองกับผลสัมฤทธิ์ทางด้านทฤษฎีดนตรีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6: กรณีศึกษาสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่ใช้หลักสูตรเน้นด้านดนตรีในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2013
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/34317 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.34317 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
การรับรู้ตนเอง ดนตรี -- การศึกษาและการสอน Self-perception Music -- Study and teaching |
spellingShingle |
การรับรู้ตนเอง ดนตรี -- การศึกษาและการสอน Self-perception Music -- Study and teaching สุมันต์ พัวสุริยัน การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความสามารถของตนเองกับผลสัมฤทธิ์ทางด้านทฤษฎีดนตรีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6: กรณีศึกษาสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่ใช้หลักสูตรเน้นด้านดนตรีในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล |
description |
วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554 |
author2 |
ดนีญา อุทัยสุข |
author_facet |
ดนีญา อุทัยสุข สุมันต์ พัวสุริยัน |
format |
Theses and Dissertations |
author |
สุมันต์ พัวสุริยัน |
author_sort |
สุมันต์ พัวสุริยัน |
title |
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความสามารถของตนเองกับผลสัมฤทธิ์ทางด้านทฤษฎีดนตรีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6: กรณีศึกษาสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่ใช้หลักสูตรเน้นด้านดนตรีในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล |
title_short |
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความสามารถของตนเองกับผลสัมฤทธิ์ทางด้านทฤษฎีดนตรีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6: กรณีศึกษาสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่ใช้หลักสูตรเน้นด้านดนตรีในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล |
title_full |
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความสามารถของตนเองกับผลสัมฤทธิ์ทางด้านทฤษฎีดนตรีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6: กรณีศึกษาสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่ใช้หลักสูตรเน้นด้านดนตรีในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล |
title_fullStr |
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความสามารถของตนเองกับผลสัมฤทธิ์ทางด้านทฤษฎีดนตรีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6: กรณีศึกษาสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่ใช้หลักสูตรเน้นด้านดนตรีในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล |
title_full_unstemmed |
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความสามารถของตนเองกับผลสัมฤทธิ์ทางด้านทฤษฎีดนตรีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6: กรณีศึกษาสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่ใช้หลักสูตรเน้นด้านดนตรีในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล |
title_sort |
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความสามารถของตนเองกับผลสัมฤทธิ์ทางด้านทฤษฎีดนตรีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6: กรณีศึกษาสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่ใช้หลักสูตรเน้นด้านดนตรีในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2013 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/34317 |
_version_ |
1681413978668924928 |
spelling |
th-cuir.343172013-08-08T08:51:48Z การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความสามารถของตนเองกับผลสัมฤทธิ์ทางด้านทฤษฎีดนตรีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6: กรณีศึกษาสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่ใช้หลักสูตรเน้นด้านดนตรีในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล A study of relationships between twelfth grade students’ self-efficacy and their music theoritical achievement : a case study of music-focused basic education institutions in Bangkok and vicinity สุมันต์ พัวสุริยัน ดนีญา อุทัยสุข จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ การรับรู้ตนเอง ดนตรี -- การศึกษาและการสอน Self-perception Music -- Study and teaching วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554 การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับผลสัมฤทธิ์วิชาทฤษฎีดนตรี ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 2) ศึกษาระดับของการรับรู้ความสามารถของตนเองและระดับความสำคัญของปัจจัยด้านการรับรู้ความสามารถของตนเอง ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 6 และ 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความสามารถของตนเองกับผลสัมฤทธิ์วิชาทฤษฎีดนตรี ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนที่เรียนวิชาเอกดนตรีสากล ที่กำลังศึกษาในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2554 แผนการเรียน ศิลป์-ดนตรี ได้แก่ นักเรียนโรงเรียนวัดสุทธิวราราม จำนวน 5 คน นักเรียนวิทยาลัยนาฏศิลป จำนวน 26 คน และนักเรียนโรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร จำนวน 28 คน รวม 59 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ 1) แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 2) แบบวัดผลสัมฤทธิ์ด้านทฤษฎีดนตรี 3) แบบวัดการรับรู้ความสามารถของตนเองด้านทฤษฎีดนตรี และ 4) แบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยของการรับรู้ความสามารถของตนเอง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยาย (แจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน) และสถิติเชิงอ้างอิงโดยวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson Correlation) ผลการวิจัยพบว่า 1) คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางด้านทฤษฎีดนตรีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 อยู่ในระดับปานกลาง (M = 47.53, SD = 22.35) 2) คะแนนการรับรู้ความสามารถของตนเองทางด้านทฤษฎีดนตรีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 อยู่ในระดับปานกลาง (M = 2.31, SD = .87) และคะแนนรวมระดับความสำคัญของปัจจัยด้านการรับรู้ความสามารถของตนเองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 อยู่ในระดับสูง (M = 109.07, SD = 21.52) โดยแบ่งออกเป็น 4 ปัจจัย ได้แก่ ระดับความสำคัญของปัจจัยด้านความสำเร็จจากการกระทำ อยู่ในระดับกลาง (M = 58.89, SD = 17.99) ระดับความสำคัญของปัจจัยด้านการได้เห็นประสบการณ์ของผู้อื่น อยู่ในระดับสูง (M = 70.9, SD = 17.22) ระดับความสำคัญของปัจจัยด้านการใช้คำพูดชักจูง อยู่ในระดับสูง (M = 67.67, SD = 17.38) และระดับความสำคัญของปัจจัยด้านสภาวะทางร่างกายและอารมณ์ อยู่ในระดับกลาง (M = 65.52, SD = 13.61) และ 3) คะแนนการรับรู้ความสามารถของตนเองทางด้านทฤษฎีดนตรี มีความสัมพันธ์ในทิศทางบวกกับผลสัมฤทธิ์วิชาทฤษฎีดนตรีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ .66 ซึ่งมีความสัมพันธ์ระดับปานกลาง The methodology of this research was to survey. The objectives of research were 1) to study twelfth grade students’ music theoretical achievement 2) to study twelfth grade students’ self-efficacy perception and their self-efficacy factors perception and 3) to study the relationships between twelfth grade students’ self-efficacy perception and their music theoretical achievement. The sample of this research were 59 twelfth grade students from the music-focused basic education institutions in Bangkok and vicinity including five students from Watsuthiwararam school, twenty-six students from The College of Dramatic Arts and twenty-eight students from Mattayom Sangkeetwitaya Bangkok School. The research instruments were 1) personal information questionnaires 2) music theoretical achievement test 3) self-efficacy questionnaires and 4) self-efficacy’s factors questionnaires. The collected data were analyzed by descriptive statistics (calculating the frequency, percentage, M, SD) and inferential statistics by Pearson correlation. The results of the study revealed that: 1) the twelfth grade students received their music theoretical achievement score at the moderate level. (M = 47.53, SD = 22.35) 2) The twelfth grade students rated their self-efficacy perception at the moderate level (M = 2.31, SD = .87) and rated their self-efficacy factors perception at the high level (M = 109.07, SD = 21.52) including 4 factors from Enactive Attainment at the moderate level (M = 58.89, SD = 17.99), Vicarious Experience at the high level (M = 70.9, SD = 17.22). Verbal Persuasion at the high level (M = 67.67, SD = 17.38) and Physiological and Affective State at the moderate level (M = 65.52, SD = 13.61) and 3) Self-efficacy was positively correlated at the moderate level and significantly correlated with music theoretical achievement at the .01 level (r = .66). 2013-08-08T08:51:48Z 2013-08-08T08:51:48Z 2554 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/34317 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย application/pdf กรุงเทพมหานคร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |