การศึกษาเปรียบเทียบความวิตกกังวลของหญิงครรภ์แรก ที่มีอายุระดับการศึกษาและฐานะทางเศรษฐกิจแตกต่างกัน
วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2529
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2013
|
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/34440 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.34440 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cuir.344402016-03-11T03:10:11Z การศึกษาเปรียบเทียบความวิตกกังวลของหญิงครรภ์แรก ที่มีอายุระดับการศึกษาและฐานะทางเศรษฐกิจแตกต่างกัน A comparative study of anxiety during first pregnancy among women of different ages, education levels, and economic levels อนงค์ ลีละชัยกุล จีน แบรี่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2529 การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความวิตกกังวลของหญิงครรภ์แรกที่มีอายุ ระดับการศึกษา และฐานะทางเศรษฐกิจแตกต่างกัน กลุ่มตัวอย่างเป็นหญิงครรภ์แรกที่มาฝากครรภ์ที่แผนกฝากครรภ์ของโรงพยาบาลรามาธิบดี จำนวน 100 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ 1) แบบสัมภาษณ์ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับรายละเอียดของกลุ่มตัวอย่าง 2) แบบวัดความวิตกกังวลของสปิลเบอร์เกอร์ ที่มีชื่อว่า The State-Trait Anxiety Inventory (STAI) ผู้วิจัยสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างเป็นรายบุคคล เพื่อเก็บข้อมูลเกี่ยวกับรายละเอียดของหญิงมีครรภ์ ได้แก่ อายุ ระดับการศึกษา ระดับฐานะทางเศรษฐกิจ และให้กลุ่มตัวอย่างตอบแบบวัด STAI ในขณะที่กลุ่มตัวอย่างตั้งครรภ์อยู่ในระยะไตรมาสที่หนึ่งของการตั้งครรภ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว และการเปรียบเทียบพหุคูณของเชฟเฟ่ ผลการวิจัยปรากฏว่า 1. หญิงครรภ์แรกที่มีอายุแตกต่างกัน มีความวิตกกังวลแบบสเตทไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แต่มีความวิตกกังวลแบบเทรทแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยพบว่ากลุ่มหญิงครรภ์แรกที่มีอายุต่ำกว่า 21 ปี มีความวิตกกังวลแบบเทรทแตกต่างจากกลุ่มหญิงครรภ์แรกที่มีอายุ 26-30 ปี อย่างมีนัยสำคัญ 2. หญิงครรภ์แรกที่มีระดับการศึกษาแตกต่างกัน มีความวิตกกังวลแบบสเตทไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แต่มีความวิตกกังวลแบบเทรทแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยพบว่ากลุ่มหญิงครรภ์แรกที่มีระดับการศึกษาต่ำ มีความวิตกกังวลแบบเทรทแตกต่างจากกลุ่มหญิงครรภ์แรกที่มีระดับการศึกษาปานกลางและระดับการศึกษาสูง อย่างมีนัยสำคัญ 3. หญิงครรภ์แรกที่มีระดับฐานะทางเศรษฐกิจแตกต่างกัน มีความวิตกกังวลแบบสเตทและแบบเทรทไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 The purpose of this research was to compare anxiety during first pregnancy of women of different ages, education levels and economic levels. The subjects were 100 pregnant women from the prenatal clinic of Ramathibodi Hospital. The instruments used in this research were 1) a personal data interview form and 2) The State-Trait Anxiety Inventory (STAI) of Spielberger. The subjects were interfviewed individually by the researcher to obtain information pertaining to their age, education level and economic level; The subjects completed the STAI during their first trimester of pregnancy. The data were analysed by using the one way analysis of variance and the multiple comparison method of Scheffe. Findings show that : 1) There is no significant difference at the .05 level in state anxiety but there is a significant difference at the .05 level in trait anxiety among women of different age groups during their first pregnancy, i.e between the age groups of below 21 years and the age groups of 26-30 years. 2) There is no significant difference at the .05 level in state anxiety but there is a significant difference at the .01 level in trait anxiety among women during their first pregnancy at the following different education levels, i.e between those with a high and medium level and those with a low level of education. 3) There is no significant difference at the .05 level in state and trait anxiety among women of different economic levels during their first prenancy. 2013-08-09T06:52:06Z 2013-08-09T06:52:06Z 2529 Thesis 9745668745 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/34440 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
description |
วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2529 |
author2 |
จีน แบรี่ |
author_facet |
จีน แบรี่ อนงค์ ลีละชัยกุล |
format |
Theses and Dissertations |
author |
อนงค์ ลีละชัยกุล |
spellingShingle |
อนงค์ ลีละชัยกุล การศึกษาเปรียบเทียบความวิตกกังวลของหญิงครรภ์แรก ที่มีอายุระดับการศึกษาและฐานะทางเศรษฐกิจแตกต่างกัน |
author_sort |
อนงค์ ลีละชัยกุล |
title |
การศึกษาเปรียบเทียบความวิตกกังวลของหญิงครรภ์แรก ที่มีอายุระดับการศึกษาและฐานะทางเศรษฐกิจแตกต่างกัน |
title_short |
การศึกษาเปรียบเทียบความวิตกกังวลของหญิงครรภ์แรก ที่มีอายุระดับการศึกษาและฐานะทางเศรษฐกิจแตกต่างกัน |
title_full |
การศึกษาเปรียบเทียบความวิตกกังวลของหญิงครรภ์แรก ที่มีอายุระดับการศึกษาและฐานะทางเศรษฐกิจแตกต่างกัน |
title_fullStr |
การศึกษาเปรียบเทียบความวิตกกังวลของหญิงครรภ์แรก ที่มีอายุระดับการศึกษาและฐานะทางเศรษฐกิจแตกต่างกัน |
title_full_unstemmed |
การศึกษาเปรียบเทียบความวิตกกังวลของหญิงครรภ์แรก ที่มีอายุระดับการศึกษาและฐานะทางเศรษฐกิจแตกต่างกัน |
title_sort |
การศึกษาเปรียบเทียบความวิตกกังวลของหญิงครรภ์แรก ที่มีอายุระดับการศึกษาและฐานะทางเศรษฐกิจแตกต่างกัน |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2013 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/34440 |
_version_ |
1681411607991681024 |