แนวทางการปรับปรุงผนังอาคารห้องสมุดเพื่อลดการถ่ายเทความร้อนเข้าสู่อาคาร กรณีศึกษาอาคารห้องสมุดโรงเรียนพูลเจริญวิทยาคม
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2013
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/34443 http://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1422 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.34443 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Chulalongkorn University Library |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
อาคารห้องสมุด ห้องสมุดโรงเรียน ความร้อน -- การถ่ายเท Library buildings School libraries Heat -- Transmission |
spellingShingle |
อาคารห้องสมุด ห้องสมุดโรงเรียน ความร้อน -- การถ่ายเท Library buildings School libraries Heat -- Transmission สุทิสา เรืองกันท์ แนวทางการปรับปรุงผนังอาคารห้องสมุดเพื่อลดการถ่ายเทความร้อนเข้าสู่อาคาร กรณีศึกษาอาคารห้องสมุดโรงเรียนพูลเจริญวิทยาคม |
description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553 |
author2 |
สุนทร บุญญาธิการ |
author_facet |
สุนทร บุญญาธิการ สุทิสา เรืองกันท์ |
format |
Theses and Dissertations |
author |
สุทิสา เรืองกันท์ |
author_sort |
สุทิสา เรืองกันท์ |
title |
แนวทางการปรับปรุงผนังอาคารห้องสมุดเพื่อลดการถ่ายเทความร้อนเข้าสู่อาคาร กรณีศึกษาอาคารห้องสมุดโรงเรียนพูลเจริญวิทยาคม |
title_short |
แนวทางการปรับปรุงผนังอาคารห้องสมุดเพื่อลดการถ่ายเทความร้อนเข้าสู่อาคาร กรณีศึกษาอาคารห้องสมุดโรงเรียนพูลเจริญวิทยาคม |
title_full |
แนวทางการปรับปรุงผนังอาคารห้องสมุดเพื่อลดการถ่ายเทความร้อนเข้าสู่อาคาร กรณีศึกษาอาคารห้องสมุดโรงเรียนพูลเจริญวิทยาคม |
title_fullStr |
แนวทางการปรับปรุงผนังอาคารห้องสมุดเพื่อลดการถ่ายเทความร้อนเข้าสู่อาคาร กรณีศึกษาอาคารห้องสมุดโรงเรียนพูลเจริญวิทยาคม |
title_full_unstemmed |
แนวทางการปรับปรุงผนังอาคารห้องสมุดเพื่อลดการถ่ายเทความร้อนเข้าสู่อาคาร กรณีศึกษาอาคารห้องสมุดโรงเรียนพูลเจริญวิทยาคม |
title_sort |
แนวทางการปรับปรุงผนังอาคารห้องสมุดเพื่อลดการถ่ายเทความร้อนเข้าสู่อาคาร กรณีศึกษาอาคารห้องสมุดโรงเรียนพูลเจริญวิทยาคม |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2013 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/34443 http://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1422 |
_version_ |
1724630076911255552 |
spelling |
th-cuir.344432019-10-07T04:10:30Z แนวทางการปรับปรุงผนังอาคารห้องสมุดเพื่อลดการถ่ายเทความร้อนเข้าสู่อาคาร กรณีศึกษาอาคารห้องสมุดโรงเรียนพูลเจริญวิทยาคม Guideline for building wall system to improve thermal performance case study Poolcharoen Wittayakom School Library สุทิสา เรืองกันท์ สุนทร บุญญาธิการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ อาคารห้องสมุด ห้องสมุดโรงเรียน ความร้อน -- การถ่ายเท Library buildings School libraries Heat -- Transmission วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553 แนวทางการปรับปรุงผนังอาคารห้องสมุด เพื่อลดการถ่ายเทความร้อนเข้าสู่อาคาร อากาศที่ร้อนขึ้นในปัจจุบันทำให้มนุษย์ทุกคนมีความต้องการสถานที่หรืออาคารต่างๆ ที่อยู่ในสภาวะน่าสบายอาคารห้องสมุดก็เป็นอาคารที่ต้องการสภาวะน่าสบายเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ สูงยิ่งขึ้น ผนังอาคารก็เป็นส่วนหนึ่งที่ได้รับผลจากการแผ่รังสีของดวงอาทิตย์ทั้งทางตรงและ ทางอ้อม ส่งผลต่ออุณหภูมิภายในอาคารไม่อยู่ในสภาวะที่น่าสบาย ซึ่งปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อสภาวะน่าสบายของนักเรียนภายในอาคารห้องสมุด คือ การลดอุณหภูมิเฉลี่ยของผิวอาคารโดยรอบผสมผสานกับความเร็วลม (พัดลม) ซึ่งเป็นวัตถุประสงค์หลักของงานวิจัยนี้ ขั้นตอนการวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน 1)การศึกษาและการเก็บข้อมูลจากอาคารห้องสมุดโรงเรียนพูลเจริญวิทยาคม 2) นำข้อมูลที่ได้จากการเก็บข้อมูลมาวิเคราะห์และประมวลผลประกอบด้วย 1) วิเคราะห์เปรียบเทียบปริมาณความร้อนที่ถ่ายเทเข้าสู่อาคาร 2) วิเคราะห์และเปรียบเทียบอุณหภูมิเฉลี่ยพื้นผิวโดยรอบภายในอาคารก่อนและหลังการปรับปรุงและความเร็วลมที่เหมาะสมซึ่งมีผลต่อสภาวะน่าสบายของนักเรียนภายในอาคารห้องสมุด จากการวิเคราะห์ทำให้ทราบว่า การปรับปรุงอาคารก่ออิฐฉาบปูนโดยการติดฉนวน EIFS หนาแตกต่างกัน 4 ขนาด ดังนี้ 1 นิ้ว - 4 นิ้ว ภายนอกผนังอาคาร นำไปเปรียบเทียบกับอาคารก่ออิฐฉาบปูน พบว่า การปรับปรุงผนังด้วยฉนวน EIFS 4 นิ้ว (โดยไม่รวมกระจก) สามารถลดความร้อนที่ถ่ายเทเข้ามาภายในอาคารได้ถึง 10.37 เท่าของผนังอาคารห้องสมุดแบบก่ออิฐฉาบปูน ในกรณีที่อาคารห้อมสมุดปรับอากาศ ส่วนกรณีอาคารห้องสมุดที่ไม่ปรับอากาศจะมีวิธีคำนวณหาค่า MRT โดยมีรายละเอียดดังนี้ ผนังอาคารเดิมมีค่า MRTภายในมีค่า 32.43 ℃ ซึ่งใกล้เคียงกับอุณหภูมิภายนอก 35.9 ℃ ทำให้อาคารห้องสมุดไม่อยู่ในสภาวะน่าสบาย แต่เมื่อทำการปรับปรุงและปรับอากาศที่อุณหภูมิ 25 ℃ จะทำให้ค่า MRT ภายในลดลง 30.04 ℃ ทำให้นักเรียนที่มาใช้บริการเสมือนว่าอยู่ในสภาวะน่าสบายเพิ่มมากขึ้น ผลการวิจัยสรุปได้ว่า แนวทางในการปรับปรุงอาคารห้องสมุดโรงเรียนพูลเจริญวิทยาคมเพื่อลดการถ่ายเทความร้อนของผนังทำให้อาคารอยู่ในสภาวะน่าสบาย ทำได้โดยการเลือกใช้วัสดุที่มีคุณสมบัติการหน่วงเหนี่ยวความร้อน เพื่อลดอุณหภูมิพื้นผิวภายในอาคาร เช่นการติดตั้งฉนวนภายนอกอาคารเดิมจะช่วยเพิ่มสภาวะน่าสบายของนักเรียนที่มาใช้บริการในอาคารห้องสมุดได้ Standard elementary school library in Thailand has very poor thermal comfort quality since it has very limited construction budget. Therefore, students do not prefer to get in and use library facilities. Poolcharoen Wittayakom School is one of the case studies as standard building. Heat from sun ray and high air temperature are major impacts to inside thermal condition. Moreover, sun ray penetrating to fenestration also causes a lot of heat inside. The study started with thermal measurement of existing condition. Then, thermal comfort factors and appropriate building materials were analyzed and applied to the building as calculation method. Some part of onsite experiments were conducted such as wall insulation. It is found that existing brick wall has a lot of heat flow in. After 4 inch of EIFS foam was applied to outside wall surface, the heat flow in was reduced 10.37 times. Mean Radiant Temperature (MRT) of existing brick wall was 32.43 degree C which exceeds thermal comfort zone. From calculation based on the experiment sample, MRT after insulation installed at existing wall is 30.04 degree C. The survey results from students in part of experiment sample shown that thermal sensation is better significantly with MRT improvement. When apply wind velocity from existing ceiling fan, students feel close to comfort condition. It can be concluded that applying outside wall insulation can reduce cooling load and also improve thermal sensation comfort. 2013-08-09T07:07:51Z 2013-08-09T07:07:51Z 2553 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/34443 10.14457/CU.the.2010.1422 th http://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1422 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |