การขจัดน้ำมันเสถียรในอิมัลชัน ของน้ำเสียโดยอินดิวซ์แอร์โฟลเทชัน

วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: ชุลีกร ชูกลิ่น, 2519-
Other Authors: สงบทิพย์ พงศ์สถาบดี
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2007
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3478
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.3478
record_format dspace
spelling th-cuir.34782007-12-20T09:23:01Z การขจัดน้ำมันเสถียรในอิมัลชัน ของน้ำเสียโดยอินดิวซ์แอร์โฟลเทชัน Removal of stabilized oil in wastewater emulsions by induced air flotation ชุลีกร ชูกลิ่น, 2519- สงบทิพย์ พงศ์สถาบดี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ น้ำเสีย--การกำจัด--การกำจัดน้ำมัน โฟลเทชัน สารลดแรงตึงผิว วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 ศึกษาการขจัดน้ำมันเสถียรในอิมัลชันของน้ำเสีย โดยเทคนิคอินดิวซ์แอร์โฟลเทชัน ตัวแปรที่ใช้ศึกษาในงานวิจัยนี้ ได้แก่ (ก) สารลดแรงตึงผิวชนิดไม่มีประจุ (โพลีออกซีเอททิลลีนซอบิเทนโมโนโอลีเอต, ทวีน 80) สารลดแรงตึงผิวชนิดประจุบวก (เฮกซะเดคซิลไตรเมททิลแอมโมเนียมโบรมายด์, ซีเทบ) สารลดแรงตึงผิวชนิดประจุลบ (โซเดียมโดเดคซิลซัลเฟต, เอสดีเอส) และสารลดแรงตึงผิวผสมระหว่าง ซีเทบกับทวีน 80 ที่อัตราส่วน (2:8) (5:5) และ (8:2) ซึ่งใช้สำหรับทำให้ฟองมีเสถียรภาพมากขึ้น (ข) ความเข้มข้นและชนิดของอิเล็กโตรไลต์ (ค) ค่าความเป็นกรด-เบส (ง) อัตราการไหลของอากาศ (จ) ขนาดของฟองอากาศ และ (ฉ) เวลาที่ใช้ในการโฟลเทชันเพื่อขจัดน้ำมันหล่อเย็นชนิดผสมน้ำ โดยค่าซีต้าโพเทนเชียล ค่าความขุ่น และค่าการดูดกลืนแสงยูวีถูกใช้เพื่ออธิบายผลการทดลอง ภาวะที่เหมาะสมสำหรับการขจัดน้ำมันหล่อเย็นชนิดผสมน้ำ ขึ้นกับชนิดของสารลดแรงตึงผิวชนิดและประมาณของอิเล็กโทรไลต์ เช่น ทวีน 80 1 ซีเอ็มซี และอลูมิเนียมซัลเฟต 160 มิลลิกรัมต่อลิตร ซีเทบ 0.25 ซีเอ็มซี และอลูมิเนียมซัลเฟต 480 มิลลิกรัมต่อลิตร เอสดีเอส 0.25 ซีเอ็มซี และอลูมิเนียมซัลเฟต 280 มิลลิกรัมต่อลิตร ซีเทบ : ทวีน 80 (2:8) 1 ซีเอ็มซี และอลูมิเนียมซัลเฟต 160 มิลลิกรัมต่อลิตร ซีเทบ : ทวีน 80 (5:5) 1 ซีเอ็มซี และอลูมิเนียมซัลเฟต 160 มิลลิกรัมต่อลิตร ซีเทบ : ทวีน 80 (8:2) 1 ซีเอ็มซี ผลของ pH ที่เหมาะสมอยู่ที่ 7 ในขณะเมื่อใช้เอสดีเอส pH ที่เหมาะสมที่ 4 โดยใช้อัตราการไหลของอากาศ 8 มิลลิลิตรต่อวินาที ขนาดของฟองอากาศในช่วง 615-688 ไมโครเมตรและเวลาในการโฟลเทชันที่ 20 นาที ประจุบวกจากอลูมิเนียมไอออนมีผลในการทำลายเสถียรภาพ ของน้ำมันอิมัลชันที่มีความเสถียร ผลจากการทดลองจะเห็นว่าสามารถขจัดน้ำมันหล่อเย็นชนิดผสมน้ำ ที่มีเสถียรภาพออกจากอิมัลชันของน้ำเสียได้มากกว่า 99% Removal of stabilized oil in wastewater emulsions was investigated by means of induced air flotation technique. Several operating parameters including (a) nonionic surfactant (poly(oxyethylene)(20)-sorbitane monooleate, tween 80), cationic surfactant (hexadecyltrimethyl ammonium bromide, CTAB), anionic surfactant (sodium dodecyl sulphate, SDS) and mixed surfactant between CTAB and tween 80 at ratio (2:8), (5:5), and (8:2) used for longer-life of air bubble, (b) concentrations and types of electrolyte, (c) pH, (d). air flow rate, (e) air bubble size and (f) flotation time were investigated to achieve the performance of induced air flotation for cutting oil removal. Zeta-potential, turbidity and UV-absorbance measurements were also performed in order to interpret the obtained results. An optimum condition for soluble cutting oil removal depended on types of surfactant and a quantity of electrolyte, such as 1 CMC tween 80 and 160 mg/l Al[subscript 2](SO[subscript 4])[subscript 3], 0.25 CMC CTAB and 480 mg/l Al[subscript 2](SO[subscript 4])[subscript 3], 0.25 CMC SDS and 280 mg/l Al[subscript 2](SO[subscript 4])[subscript 3],1 CMC CTAB : tween 80 (2:8) and 160 mg/l Al[subscript 2](SO[subscript 4])[subscript 3], 1 CMC CTAB : tween 80 (5:5) and 160 mg/l Al[subscript 2](SO[subscript 4])[subscript 3], 1 CMC CTAB : tween 80 (8:2). The results showed that an appropriate pH was at 7 except in case of using SDS was at pH 4. The higher oil removal was obtained when employing 8 ml/sec in air flow rate, 615-688 microm. in air bubble size and 20 mins in flotation time. It also found that aluminium cation had effectively induced the destabilization of stabilized oil. More than 99% of stabilized soluble cutting oil emulsions could be removed from the wastewater 2007-03-23T06:56:47Z 2007-03-23T06:56:47Z 2547 Thesis 9741768125 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3478 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2808247 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic น้ำเสีย--การกำจัด--การกำจัดน้ำมัน
โฟลเทชัน
สารลดแรงตึงผิว
spellingShingle น้ำเสีย--การกำจัด--การกำจัดน้ำมัน
โฟลเทชัน
สารลดแรงตึงผิว
ชุลีกร ชูกลิ่น, 2519-
การขจัดน้ำมันเสถียรในอิมัลชัน ของน้ำเสียโดยอินดิวซ์แอร์โฟลเทชัน
description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547
author2 สงบทิพย์ พงศ์สถาบดี
author_facet สงบทิพย์ พงศ์สถาบดี
ชุลีกร ชูกลิ่น, 2519-
format Theses and Dissertations
author ชุลีกร ชูกลิ่น, 2519-
author_sort ชุลีกร ชูกลิ่น, 2519-
title การขจัดน้ำมันเสถียรในอิมัลชัน ของน้ำเสียโดยอินดิวซ์แอร์โฟลเทชัน
title_short การขจัดน้ำมันเสถียรในอิมัลชัน ของน้ำเสียโดยอินดิวซ์แอร์โฟลเทชัน
title_full การขจัดน้ำมันเสถียรในอิมัลชัน ของน้ำเสียโดยอินดิวซ์แอร์โฟลเทชัน
title_fullStr การขจัดน้ำมันเสถียรในอิมัลชัน ของน้ำเสียโดยอินดิวซ์แอร์โฟลเทชัน
title_full_unstemmed การขจัดน้ำมันเสถียรในอิมัลชัน ของน้ำเสียโดยอินดิวซ์แอร์โฟลเทชัน
title_sort การขจัดน้ำมันเสถียรในอิมัลชัน ของน้ำเสียโดยอินดิวซ์แอร์โฟลเทชัน
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2007
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3478
_version_ 1681411443320160256