การสื่อสารข้ามเชื้อชาติระหว่างคนไทยและคนไทยเชื้อสายอินเดีย
วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2013
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/34840 http://doi.org/10.14457/CU.the.2008.497 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.34840 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Chulalongkorn University Library |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
การสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม การสื่อสารกับวัฒนธรรม ชาวไทย -- การสื่อสาร ไทยเชื้อสายอินเดีย -- การสื่อสาร Intercultural communication Communication and culture Thais -- Communication Indian-Thais -- Communication |
spellingShingle |
การสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม การสื่อสารกับวัฒนธรรม ชาวไทย -- การสื่อสาร ไทยเชื้อสายอินเดีย -- การสื่อสาร Intercultural communication Communication and culture Thais -- Communication Indian-Thais -- Communication ปทิตตา คิมประโคน การสื่อสารข้ามเชื้อชาติระหว่างคนไทยและคนไทยเชื้อสายอินเดีย |
description |
วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 |
author2 |
เมตตา วิวัฒนานุกูล |
author_facet |
เมตตา วิวัฒนานุกูล ปทิตตา คิมประโคน |
format |
Theses and Dissertations |
author |
ปทิตตา คิมประโคน |
author_sort |
ปทิตตา คิมประโคน |
title |
การสื่อสารข้ามเชื้อชาติระหว่างคนไทยและคนไทยเชื้อสายอินเดีย |
title_short |
การสื่อสารข้ามเชื้อชาติระหว่างคนไทยและคนไทยเชื้อสายอินเดีย |
title_full |
การสื่อสารข้ามเชื้อชาติระหว่างคนไทยและคนไทยเชื้อสายอินเดีย |
title_fullStr |
การสื่อสารข้ามเชื้อชาติระหว่างคนไทยและคนไทยเชื้อสายอินเดีย |
title_full_unstemmed |
การสื่อสารข้ามเชื้อชาติระหว่างคนไทยและคนไทยเชื้อสายอินเดีย |
title_sort |
การสื่อสารข้ามเชื้อชาติระหว่างคนไทยและคนไทยเชื้อสายอินเดีย |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2013 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/34840 http://doi.org/10.14457/CU.the.2008.497 |
_version_ |
1724629817327878144 |
spelling |
th-cuir.348402021-12-02T04:23:52Z การสื่อสารข้ามเชื้อชาติระหว่างคนไทยและคนไทยเชื้อสายอินเดีย Interracial communication between Thais and Indian-Thais ปทิตตา คิมประโคน เมตตา วิวัฒนานุกูล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์ การสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม การสื่อสารกับวัฒนธรรม ชาวไทย -- การสื่อสาร ไทยเชื้อสายอินเดีย -- การสื่อสาร Intercultural communication Communication and culture Thais -- Communication Indian-Thais -- Communication วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะการรับรู้และทัศนคติของคนไทยต่อคนไทยเชื้อสายอินเดีย ที่มาและภูมิหลังของคนไทยเชื้อสายอินเดีย รวมทั้งลักษณะและปัญหาในการสื่อสารระหว่างคนไทยและคนไทยเชื้อสายอินเดีย โดยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการวิจัยเชิงเอกสารและการเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึกตัวแทนของกลุ่มตัวอย่าง 3 กลุ่ม จำนวนทั้งสิ้น 22 คน ได้แก่ ก.) กลุ่มนักวิชาการที่มีความรู้หรือประสบการณ์โดยตรงเกี่ยวกับประเทศอินเดียและวัฒนธรรมอินเดีย 2 คน ข.) กลุ่มคนไทยเชื้อสายอินเดียกลุ่มต่างๆ ในสังคมไทย 10 คน และ ค.) กลุ่มคนไทยที่มีโอกาสสื่อสารและมีปฏิสัมพันธ์กับคนอินเดีย10 คน ผลการวิจัยพบว่า 1. ชาวอินเดียที่เข้ามาในประเทศไทยนั้นมีหลายเชื้อชาติศาสนา และมีฐานะทางเศรษฐกิจที่แตกต่างกัน โดยสามารถแบ่งได้ตามภูมิลำเนาเดิมในประเทศอินเดีย อาทิ คนปัญจาบ ทมิฬ อุตตระประเทศ ฯลฯ และ แบ่งตามศาสนาได้แก่ ฮินดู สิกข์ พราหมณ์ อิสลาม ฯลฯ แต่จากการศึกษาเอกสารพบว่า กลุ่มคนไทยเชื้อสายอินเดียที่มีมากที่สุดในประเทศไทยคือกลุ่มคนไทยเชื้อสายอินเดียที่นับถือศาสนาฮินดู ส่วนอาชีพที่คนอินเดียเข้ามาประกอบอาชีพมากที่สุด คือ ฐานะพ่อค้า และ พราหมณ์ ทั้งนี้จากหลักฐานทางโบราณคดีพบว่า คนไทยเชื้อสายอินเดียได้นำอารยธรรมและวัฒนธรรมอินเดียเข้ามาเผยแพร่ในสังคมไทยตั้งแต่สมัยพระเจ้าอโศกมหาราชและต่อมามีการตั้งหลักแหล่งอยู่ตามย่านธุรกิจ เช่น สีลม, สาธร, ยานนาวา, พาหุรัด, สี่แยกบ้านแขก, และถนนสุขุมวิท 2. คนไทยส่วนใหญ่รับรู้ “ความเป็นเชื้อชาติอินเดีย” จากรูปลักษณ์ภายนอก คือ หน้าตา หนวดเครา และการแต่งกาย มากที่สุด รองลงมาคือ สำเนียงภาษา โดยส่วนใหญ่รับรู้ความเป็นเชื้อสายอินเดียจากการโพกศีรษะแต่ไม่สามารถบอกความแตกต่างของชนชาติอินเดียกลุ่มต่างๆได้ นอกจากนี้ คนไทยที่ไม่เคยมีปฏิสัมพันธ์กับคนไทยเชื้อสายอินเดียมักมีทัศนคติแง่ลบมากกว่าคนไทยที่เคยมีปฏิสัมพันธ์กับคนไทยเชื้อสายอินเดีย 3. ปัญหาและอุปสรรคในการสื่อสารระหว่างคนไทยและคนไทยเชื้อสายอินเดียนั้น ปัญหาส่วนใหญ่ที่พบ คือ 1. ปัญหาด้านความรู้และความเข้าใจ (cognitive)ได้แก่ ความไม่เข้าใจเกี่ยวกับข้อห้ามทางศาสนา และ ลักษณะการทำงานของคนไทยเชื้อสายอินเดีย 2. ปัญหาด้านทัศนคติและความรู้สึก (affective) ได้แก่ การมองแบบเหมารวมและทัศนคติในเชิงลบของคนไทย โดยส่วนใหญ่มักมองคนไทยเชื้อสายอินเดียแบบเหมารวมว่าเป็นกลุ่มคนที่มีอาชีพชัดเจนเพียงบางอาชีพ ได้แก่ อาชีพขายถั่ว โรตี ขายผ้า และปล่อยเงินกู้ 3. ปัญหาด้านพฤติกรรม(behavioral) ไม่พบปัญหาการอยู่ร่วมกันหรือการแบ่งเป็นกลุ่มเขา-กลุ่มเรา (ingroup-outgroup) ระหว่างคนไทยและคนไทยเชื้อสายอินเดียในสังคมไทย แต่พบเพียงการนิยมเรียกชื่อ Name calling ตามการรับรู้ ชนชั้นทางเศรษฐกิจของคนไทยเชื้อสายอินเดีย The purpose of this research is to study Thai people’s perception and attitude towards Indian-Thais, the origin and background of Indian-Thais, and intercultural communication problems between Thais and Indian-Thais, by conducting qualitative research: documentary research and in-depth interview with three groups: 2 scholars with knowledge or direct experience in Indian culture, 10 Indian- Thais and 10 Thai people who have an opportunity to communicate with Indian people. The findings are 1) . Indian people, who came in Thailand, are from a variety of racial and religious groups with different economic background. They can be divided into groups either by their origin in India, i.e. Punjab; Tamil; and Utta Pradesh , or by their religions, i.e. Hindu, Sikh, Brahman , Islam etc. From historical document, it is found that Hindu are the biggest Indian-Thais in Thailand while their most witnessed occupations are merchants and religious practitioner (Brahman class). According to archaeological evidence, it is also found that Indian- Thais brought civilization and Indian culture into Thailand during the period of Ashoka the Great Era. Later, they scatter in business areas, i.e. Silom, Sathorn, Phahurat, Sukhumvit , etc. 2). Most Thai perceive "Indian race " from a person’s physical appearance; face, moustache and clothing, language and accents respectively, especially from the way they wrap their head; however, most Thai people cannot distinguish Indian ethnics. Furthermore, it is found that Thai people who never communicate with Indian-Thais tend to have more negative attitude than those who used to. On the other hand, most Indian-Thais express more positive than negative attitude towards Thai people. 3). Communication problems and obstacles between Thai and Indian-Thais which are mostly found are A). Cognitive problem: misunderstanding of Indian-Thais’ religious practice and taboos and their working style. B). Affective problem: stereotype and negative attitude on their limited occupations, such as selling nuts, Roti, clothes, and giving loans. C) Behavioral problem: name calling by their different economic status. Still, Thais and Indian-Thais have no problem in living together nor have ingroup-outgroup separation. 2013-08-13T14:40:45Z 2013-08-13T14:40:45Z 2551 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/34840 10.14457/CU.the.2008.497 th http://doi.org/10.14457/CU.the.2008.497 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |