การวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการนำนโยบายการจัดการความรู้สู่การปฏิบัติของโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
วิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2013
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35364 http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.630 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.35364 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Chulalongkorn University Library |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
การบริหารองค์ความรู้ การนำนโยบายไปปฏิบัติ โรงเรียนมัธยมศึกษา -- ไทย Knowledge management Policy implementation High schools -- Thailand |
spellingShingle |
การบริหารองค์ความรู้ การนำนโยบายไปปฏิบัติ โรงเรียนมัธยมศึกษา -- ไทย Knowledge management Policy implementation High schools -- Thailand รณชิต พฤษกรรม การวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการนำนโยบายการจัดการความรู้สู่การปฏิบัติของโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน |
description |
วิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554 |
author2 |
นันทรัตน์ เจริญกุล |
author_facet |
นันทรัตน์ เจริญกุล รณชิต พฤษกรรม |
format |
Theses and Dissertations |
author |
รณชิต พฤษกรรม |
author_sort |
รณชิต พฤษกรรม |
title |
การวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการนำนโยบายการจัดการความรู้สู่การปฏิบัติของโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน |
title_short |
การวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการนำนโยบายการจัดการความรู้สู่การปฏิบัติของโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน |
title_full |
การวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการนำนโยบายการจัดการความรู้สู่การปฏิบัติของโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน |
title_fullStr |
การวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการนำนโยบายการจัดการความรู้สู่การปฏิบัติของโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน |
title_full_unstemmed |
การวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการนำนโยบายการจัดการความรู้สู่การปฏิบัติของโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน |
title_sort |
การวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการนำนโยบายการจัดการความรู้สู่การปฏิบัติของโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2013 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35364 http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.630 |
_version_ |
1724630117086396416 |
spelling |
th-cuir.353642019-09-24T09:49:25Z การวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการนำนโยบายการจัดการความรู้สู่การปฏิบัติของโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน An analysis of factors affecting the implementation of a knowledge management policy of secondary schools under the Office of the Basic Education Commission รณชิต พฤษกรรม นันทรัตน์ เจริญกุล อวยพร เรืองตระกูล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ การบริหารองค์ความรู้ การนำนโยบายไปปฏิบัติ โรงเรียนมัธยมศึกษา -- ไทย Knowledge management Policy implementation High schools -- Thailand วิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554 การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์ระดับการนำนโยบายการจัดการความรู้สู่การปฏิบัติของโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2) วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการนำนโยบายการจัดการความรู้สู่การปฏิบัติของโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และประการสุดท้าย 3) นำเสนอแนวทางในการพัฒนาการดำเนินงานของโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา ด้านนโยบายการจัดการความรู้ให้ประสบความสำเร็จยิ่งขึ้น มีโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาเป็นหน่วยในการวิเคราะห์ สุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน ได้จำนวน 335 โรงเรียน ภายใต้ความดูแลของ 42 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา (สพม.) ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วย ตัวแปรระดับโรงเรียน และตัวแปรระดับ สพม. ผู้ให้ข้อมูลในการวิจัยคือ ผู้บริหารโรงเรียนจำนวน 335 คน และครูผู้สอนที่อยู่ในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา จำนวน 637 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานด้วยสถิติบรรยาย วิเคราะห์ความแปรปรวนพหุนาม (Multivariate analysis of variance: MANOVA) ด้วยโปรแกรม SPSS วิเคราะห์ปัจจัยพหุระดับด้วยโปรแกรม Mplus 5.21 และวิเคราะห์เนื้อหาจากการสนทนากลุ่มสรุปเป็นแนวทางในการพัฒนาการดำเนินงานตามนโยบาย ผลการวิจัยพบว่า 1) โรงเรียนระดับมัธยมศึกษามีการนำนโยบายการจัดการความรู้สู่การปฏิบัติ อยู่ในระดับปานกลาง ทั้งภาพรวม (X-bar = 3.16) และรายด้าน (X-bar อยู่ระหว่าง 3.10 ถึง 3.23) 2) ภูมิภาคที่ตั้งและขนาดของโรงเรียนที่แตกต่างกันส่งผลต่อการนำนโยบายการจัดการความรู้สู่การปฏิบัติ ของโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา โดยภาพรวมโรงเรียนที่มีขนาดใหญ่กว่าจะมีระดับการปฏิบัติ ที่มากกว่าโรงเรียนที่มีขนาดเล็กกว่า และโรงเรียนที่ตั้งอยู่ในเขตภาคกลางมีการปฏิบัติมากที่สุด (X-bar = 3.48) ส่วนโรงเรียนที่ตั้งอยู่ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีการปฏิบัติน้อยที่สุด (X-bar = 2.97) ชุดปัจจัยในระดับโรงเรียนและชุดปัจจัยระดับ สพม. สามารถทำนายหรืออธิบายการนำนโยบายการจัดการความรู้สู่การปฏิบัติของโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาได้ 66.8% และ 90.8% ตามลำดับ โดยปัจจัยภายนอกองค์การที่สำคัญที่สุดในทั้งระดับโรงเรียนและระดับ สพม. คือ ด้านลักษณะและทรัพยากรนโยบาย และปัจจัยภายในองค์การที่สำคัญที่สุด คือ ด้านลักษณะผู้บริหารองค์การ 3) สำหรับแนวทางในการพัฒนาการดำเนินงานของโรงเรียน มี 2 ประการ คือ 1) จัดตั้งสำนักงานการจัดการความรู้ภายในหน่วยงานทั้งในระดับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และโรงเรียน 2) จัดการอบรมเชิงปฏิบัติการ ที่มุ่งเน้นการฝึกปฏิบัติและประเมินผลการอบรมจากชิ้นงานที่ได้ นอกจากนี้ยังมีข้อเสนอแนะให้ สพม. และโรงเรียนปรับปรุงปัจจัยภายในองค์การให้เอื้อต่อการจัดการความรู้เพิ่มมากขึ้นในทุกด้าน The purpose of this research were: 1) to analyze the level of implementation of a knowledge management policy of secondary schools under the office of the basic education commission. 2) to analyze the factors affecting implementation of a knowledge management policy of secondary schools under the office of the basic education commission. 3) to suggest a set of guidelines to develop management approaches of secondary schools for implementation of a knowledge management policy. Units of analysis were secondary schools. A multi-stage stratified random sampling was used to identify 335 secondary schools under 42 offices of secondary education service. Variables consisted of two-level variables : School-level variables and Office of secondary education service (OSES) - level variables. Sample population included in the study were 335 administrators and 637 teachers of secondary schools. Research instruments were questionnaires. Data were analyzed using descriptive statistics as well as Multivariate analysis of variance (MANOVA) by SPSS program, an analysis of Multi-level factors by Mplus 5.21 program and content analysis for the focus group discussion to find out some guidelines for policy implementation The research findings were as follows. 1) The levels of implementation of a knowledge management policy for secondary schools were rated moderate in the whole picture (X-bar = 3.16) and in each aspect (X-bar = 3.10 to 3.23). 2) The differences in terms of the location and size of schools had effects on the implementation of a knowledge management policy of secondary schools. Overall, larger schools had a higher level of practice than the smaller ones. The schools located in the central region had the highest mean of practice (X-bar = 3.48), while the schools located in the Northeast had the lowest mean of practice (X-bar = 2.97). The variables at the school and OSES levels could be accounted for the implementation of a knowledge management policy of secondary schools at the percentage of 66.8% and 90.8%, respectively. The policy and resources were the most important external factors at both the school and OSES levels. And the most important internal factors were administrators. 3) There were 2 main guidelines for the development of operations on Km policy of the secondary schools: 1) to establish an office in charge of knowledge management at the national, OSES and school levels; 2) to arrange a set of workshops and training programs, equipped with result or product - based evaluation. In addition, both OSES and schools needed to improve the internal factors supporting all aspects of knowledge management. 2013-08-15T11:24:21Z 2013-08-15T11:24:21Z 2554 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35364 10.14457/CU.the.2011.630 th http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.630 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย application/pdf ไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |