ความสัมพันธ์ระหว่างการเกิดโปรโมเตอร์เมธิลเลชั่นกับการแสดงออกเป็นโปรตีนของยีนกลูตาไธโอน-เอส-ทรานส์เฟอเรสชนิดพีหนึ่งในมะเร็งเต้านม

วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: ศุภฤทธิ์ ภักดีไทย
Other Authors: พิเชฐ สัมปทานุกุล
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2013
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35838
http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.623
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.35838
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Chulalongkorn University Library
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic เต้านม -- มะเร็ง
การแสดงออกของยีน
กลูตาไธโอนทรานสเฟอเรส
Breast -- Cancer
Gene expression
Glutathione transferase
spellingShingle เต้านม -- มะเร็ง
การแสดงออกของยีน
กลูตาไธโอนทรานสเฟอเรส
Breast -- Cancer
Gene expression
Glutathione transferase
ศุภฤทธิ์ ภักดีไทย
ความสัมพันธ์ระหว่างการเกิดโปรโมเตอร์เมธิลเลชั่นกับการแสดงออกเป็นโปรตีนของยีนกลูตาไธโอน-เอส-ทรานส์เฟอเรสชนิดพีหนึ่งในมะเร็งเต้านม
description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554
author2 พิเชฐ สัมปทานุกุล
author_facet พิเชฐ สัมปทานุกุล
ศุภฤทธิ์ ภักดีไทย
format Theses and Dissertations
author ศุภฤทธิ์ ภักดีไทย
author_sort ศุภฤทธิ์ ภักดีไทย
title ความสัมพันธ์ระหว่างการเกิดโปรโมเตอร์เมธิลเลชั่นกับการแสดงออกเป็นโปรตีนของยีนกลูตาไธโอน-เอส-ทรานส์เฟอเรสชนิดพีหนึ่งในมะเร็งเต้านม
title_short ความสัมพันธ์ระหว่างการเกิดโปรโมเตอร์เมธิลเลชั่นกับการแสดงออกเป็นโปรตีนของยีนกลูตาไธโอน-เอส-ทรานส์เฟอเรสชนิดพีหนึ่งในมะเร็งเต้านม
title_full ความสัมพันธ์ระหว่างการเกิดโปรโมเตอร์เมธิลเลชั่นกับการแสดงออกเป็นโปรตีนของยีนกลูตาไธโอน-เอส-ทรานส์เฟอเรสชนิดพีหนึ่งในมะเร็งเต้านม
title_fullStr ความสัมพันธ์ระหว่างการเกิดโปรโมเตอร์เมธิลเลชั่นกับการแสดงออกเป็นโปรตีนของยีนกลูตาไธโอน-เอส-ทรานส์เฟอเรสชนิดพีหนึ่งในมะเร็งเต้านม
title_full_unstemmed ความสัมพันธ์ระหว่างการเกิดโปรโมเตอร์เมธิลเลชั่นกับการแสดงออกเป็นโปรตีนของยีนกลูตาไธโอน-เอส-ทรานส์เฟอเรสชนิดพีหนึ่งในมะเร็งเต้านม
title_sort ความสัมพันธ์ระหว่างการเกิดโปรโมเตอร์เมธิลเลชั่นกับการแสดงออกเป็นโปรตีนของยีนกลูตาไธโอน-เอส-ทรานส์เฟอเรสชนิดพีหนึ่งในมะเร็งเต้านม
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2013
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35838
http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.623
_version_ 1724629921601421312
spelling th-cuir.358382019-09-24T09:48:09Z ความสัมพันธ์ระหว่างการเกิดโปรโมเตอร์เมธิลเลชั่นกับการแสดงออกเป็นโปรตีนของยีนกลูตาไธโอน-เอส-ทรานส์เฟอเรสชนิดพีหนึ่งในมะเร็งเต้านม Relationship between promoter methylation and protein expression of glutathione s-transferase gene class P1 in breast cancer ศุภฤทธิ์ ภักดีไทย พิเชฐ สัมปทานุกุล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์ เต้านม -- มะเร็ง การแสดงออกของยีน กลูตาไธโอนทรานสเฟอเรส Breast -- Cancer Gene expression Glutathione transferase วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554 ที่มาและปัญหา: กลูธาไธโอน เอส-ทรานส์เฟอเรส ยีน ชนิดพีหนึ่ง (GSTP1) แสดงออกเป็นโปรตีน GSTP1 ซึ่งทำหน้าที่เร่งกระบวนการกำจัดสารพิษของกลูธาไธโอน การขาดเอ็นไซม์ GSTP1 มีความสัมพันธ์กับการเกิดมะเร็งและเกี่ยวข้องกับการเกิดโปรโมเตอร์ เมธิลเลชั่น (promoter methylation) งานวิจัยก่อนหน้านี้พบผลการเกิด GSTP1 hypermethylation ในมะเร็งเต้านมมีความสัมพันธ์ที่หลากหลายกับดัชนีชี้วัดทางคลินิกและพยาธิวิทยา และสัมพันธ์กับการแสดงออกของโปรตีน GSTP1 วัตถุประสงค์: ศึกษาความสัมพันธ์ของผลระหว่างการเกิด promoter methylation กับการแสดงออกเป็นโปรตีนของยีน GSTP1 ในมะเร็งเต้านม วิธีการทดลอง: ใช้ชิ้นเนื้อมะเร็งเต้านมจาก 100 ตัวอย่าง เพื่อศึกษาการเกิด promoter methylation โดยเทคนิค methylation specific assay (MSP) จากชิ้นเนื้อสด ในขณะที่การแสดงออกเป็นโปรตีนศึกษาโดยเทคนิคอิมมูโนฮีสโตเคมี (immunohistochemistry) จากชิ้นเนื้อที่ผ่านการรักษาสภาพในฟอร์มาลินและตรึงในพาราฟิน และใช้สถิติ Chi Square ในการวิเคราะห์เพื่อดูความสัมพันธ์ระหว่างผลที่ได้จากสองเทคนิคนี้และความสัมพันธ์กับ พารามิเตอร์ทางพยาธิวิทยาคลินิก (clinicopathological parameters) ผลการทดลอง: อัตราการเกิด hypermethylation ของ GSTP1 เป็น 28% (28 ราย) ในจำนวนนี้มีตัวอย่าง 8 รายเกิด methylation และ unmethylation (2-band signal) ซึ่งอาจมีสาเหตุจากเซลล์มะเร็งมีสองชนิดปนกัน หรือมีเซลล์มะเร็งไม่ลุกลามหรือเซลล์ต่อมนมปกติปนอยู่ มีตัวอย่าง 1 รายพบชิ้นเนื้อที่คู่กันเป็น non-invasive carcinoma ดังนั้นจึงเหลือตัวอย่างที่เป็น invasive carcinoma และมี hypermethylation 19 ตัวอย่าง พบมีการแสดงออกเป็นโปรตีน 12.5% ความสัมพันธ์ของผลที่ได้จากเทคนิค MSP และ IHC วิเคราะห์โดย Chi Square ได้ค่า p = 0.04 เมื่อดูความสัมพันธ์ระหว่างสองเทคนิคนี้กับ ดัชนีทางคลินิกและพยาธิวิทยา แสดงให้เห็นว่า ผลบวกโดย MSP มีความสัมพันธ์กับตัวรับโปรเจสเตอโรน (p=0.05) และ ผลบวกโดย IHC มีความสัมพันธ์กับตัวรับเอสโตรเจน (p=0.001) ส่วน ดัชนีอื่น เช่น ขนาดและเกรดของมะเร็ง, การแพร่ไปต่อมน้ำเหลือง, HER2-IHC score และ Ki67 index นั้นพบว่าไม่มีความสัมพันธ์กัน สรุปผลการทดลอง: ผลที่ได้ระหว่างการเกิด hypermethylation ของ GSTP1 โดยเทคนิค MSP และการแสดงออกเป็นโปรตีนของ GSTP1 โดยเทคนิค IHC นั้นมีความสัมพันธ์กัน อย่างไรก็ตามอาจมีปัญหาทางเทคนิคในวิธีการของ MSP ที่ควรต้องมีการศึกษาต่อไป Background: Glutathione S-transferase gene class P1 (GSTP1) encodes glutathione S-transferase P1 (GSTP1) that catalyses detoxifying metabolism of glutathione. The lack of GSTP1 expression is linked to carcinogenesis and is related to promoter methylation. The previous studies of GSTP1 hypermethylation in breast cancer revealed diverse results and suspicious correlation with GSTP1 expression. Objective: To investigate the correlation between promoter methylation and protein expression of GSTP1 in breast cancer. Methods: One hundred breast cancer samples were used. The study of promoter methylation employed methylation specific assay (MSP) on fresh tissues while the assessment of protein expression was done with immunohistochemistry (IHC) on formalin fixed paraffin embedded tissues. The results were correlated each other and with clinicopathologic parameters using Chi Square statistics. Results: The rate of hypermethylation of GSTP1 was 28%. Of which, 8 cases showed double-band signals – methylation and unmethylation bands. This might be caused by heterozygous or contaminant factors. Another one case was found in a non-invasive carcinoma. Of the left 19 cases with hypermethylation status, 12.5% revealed protein expressions. The correlation of the results between MSP and IHC methods yielding the Chi Square test, p-value= 0.04. The correlations with clinicopathological parameters showed that progesterone receptor correlated with MSP status (p-value= 0.05) and estrogen receptor correlated with IHC status (p-value= 0.001). The other parameters – tumor size, tumor grade, lymph node status, HER2-IHC score, Ki67 index were not statistically correlated. Conclusion: The results between hypermethylation of GSTP1 by MSP and GSTP1 expression by IHC are correlated, however, there might be technical problems regarding MSP that needs further investigation. 2013-09-04T09:03:13Z 2013-09-04T09:03:13Z 2554 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35838 10.14457/CU.the.2011.623 th http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.623 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย