การประเมินความถูกต้องของค่าความสูงออร์โทเมตริกจากการสำรวจแบบเคลื่อนที่โดยใช้ระบบดาวเทียมนำหน

วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: โชคชัย ตระกลกุล
Other Authors: เฉลิมชนม์ สถิระพจน์
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2013
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35861
http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1474
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.35861
record_format dspace
spelling th-cuir.358612019-10-16T02:22:43Z การประเมินความถูกต้องของค่าความสูงออร์โทเมตริกจากการสำรวจแบบเคลื่อนที่โดยใช้ระบบดาวเทียมนำหน Accuracy assessment of orthometric height from mobile mapping using GNSS โชคชัย ตระกลกุล เฉลิมชนม์ สถิระพจน์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ ระบบกำหนดตำแหน่งบนโลก แบบจำลองความสูงยีออยด์ ความสูงออร์โทเมตริก Global Positioning System Geoid model Orthometric height วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555 ปัจจุบันงานรังวัดดาวเทียมถูกใช้กันแพร่หลาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับงานที่ต้องการค่าความถูกต้องทางตำแหน่งสูง ค่าพิกัดทางดิ่งถือเป็นผลพลอยได้จากงานรังวัดดาวเทียม ดังนั้นจึงเกิดความสนใจในการนำระบบดาวเทียมนำหนมาใช้หาค่าความสูงออร์โทเมตริก ด้วยความจริงที่ว่าการสำรวจแบบเคลื่อนที่โดยใช้เครื่องรับสัญญาณดาวเทียมจะให้ข้อมูลที่รวดเร็วกว่าวิธีการทำระดับด้วยกล้องระดับแบบเดิม งานวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อประเมินความถูกต้องของค่าความสูงออร์โทเมตริกที่ได้รับจากการรังวัดแบบเคลื่อนที่โดยใช้ระบบดาวเทียมนำหน โดยการประมวลผลภายหลังด้วยวิธีประมวลผลแบบ RTK (Real-Time Kinematic), VRS (Virtual Reference Station) และ PPP (Precise Point Positioning) และประเมินผลลัพธ์จากการใช้ ค่าความสูงยีออยด์จาก EGM2008 กับค่าความสูงยีออยด์ท้องถิ่น ผลการศึกษาพบว่า เมื่อใช้ค่าความสูงยีออยด์ของ EGM2008 วิธี RTK จะมีค่าคลาดเคลื่อนเฉลี่ย 0.07 เมตร และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.04 เมตร วิธี VRS มีค่าคลาดเคลื่อนเฉลี่ย 0.07 เมตร และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.03 เมตร ส่วนวิธี PPP มีค่าคลาดเคลื่อนเฉลี่ย 0.13 เมตร และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.12 เมตร ดังนั้น จะเห็นได้ว่า เมื่อนําค่าทางสถิติมาเปรียบเทียบกัน จะพบว่าวิธี RTK และวิธี VRS ให้ความถูกต้องในระดับที่ไม่แตกต่างกัน แต่วิธี PPP จะให้ผลที่แย่กว่าสองวิธีข้างต้น และเมื่อเปรียบเทียบระหว่างค่าความสูงยีออยด์จาก EGM2008 และค่าความสูงยีออยด์ท้องถิ่น ด้วยวิธีการข้างต้น จะได้ผลลัพธ์ที่ใกล้เคียงกัน ดังนั้นจะเห็นได้ว่าการทำระดับด้วยดาวเทียมจากการสำรวจแบบเคลื่อนที่นั้น จะให้ความถูกต้องของค่าความสูงออร์โทเมตริกในระดับเดซิเมตร ซึ่งถือเป็นทางเลือกหนึ่งในการประมวลผลข้อมูลเชิงตำแหน่งที่ให้ความถูกต้องเพื่อการประยุกต์ใช้ในงานสำรวจด้านต่างๆ At present, GNSS surveying has been widely used especially for applications that require high accuracy positioning results. The vertical coordinate is considered to be a byproduct of the GNSS surveying. This therefore generates an interest in using the GNSS for the determination of an orthometric height. It is due to the fact that the mobile mapping system equipped with the geodetic-graded GNSS receiver enables rapid data collection compared to traditional differential leveling method. This research aims to assess the accuracy of orthometric heights derived from the mobile mapping system using the post-processing by Real-Time Kinematic (RTK method), Virtual Reference Station (VRS method) and Precise Point Positioning (PPP method). Using the EGM2008 and local geoid model. By applying the EGM2008 with the three above-mentioned methods, the results can be shown that the mean error and standard deviation at 0.07 m and 0.04 m respectively for RTK method. The VRS method produces the mean error at 0.07 m and standard deviation at 0.03 m. Furthermore, the PPP method demonstrates the mean error and standard deviation at 0.13 m and 0.12 m. respectively. As a result, there is no significant difference between RTK and VRS methods. On the other hand, PPP method produces less accurate results than the RTK and VRS methods. However, by comparing the use of EGM2008 and local geoid model, it was found that the results show no significant difference. In summary, results show that the GNSS levelling can provide orthometric heights accurate at decimeter level. This can be considered as an alternative for accurate data capturing method for any survey works. 2013-09-09T10:00:06Z 2013-09-09T10:00:06Z 2555 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35861 10.14457/CU.the.2012.1474 th http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1474 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Chulalongkorn University Library
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic ระบบกำหนดตำแหน่งบนโลก
แบบจำลองความสูงยีออยด์
ความสูงออร์โทเมตริก
Global Positioning System
Geoid model
Orthometric height
spellingShingle ระบบกำหนดตำแหน่งบนโลก
แบบจำลองความสูงยีออยด์
ความสูงออร์โทเมตริก
Global Positioning System
Geoid model
Orthometric height
โชคชัย ตระกลกุล
การประเมินความถูกต้องของค่าความสูงออร์โทเมตริกจากการสำรวจแบบเคลื่อนที่โดยใช้ระบบดาวเทียมนำหน
description วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555
author2 เฉลิมชนม์ สถิระพจน์
author_facet เฉลิมชนม์ สถิระพจน์
โชคชัย ตระกลกุล
format Theses and Dissertations
author โชคชัย ตระกลกุล
author_sort โชคชัย ตระกลกุล
title การประเมินความถูกต้องของค่าความสูงออร์โทเมตริกจากการสำรวจแบบเคลื่อนที่โดยใช้ระบบดาวเทียมนำหน
title_short การประเมินความถูกต้องของค่าความสูงออร์โทเมตริกจากการสำรวจแบบเคลื่อนที่โดยใช้ระบบดาวเทียมนำหน
title_full การประเมินความถูกต้องของค่าความสูงออร์โทเมตริกจากการสำรวจแบบเคลื่อนที่โดยใช้ระบบดาวเทียมนำหน
title_fullStr การประเมินความถูกต้องของค่าความสูงออร์โทเมตริกจากการสำรวจแบบเคลื่อนที่โดยใช้ระบบดาวเทียมนำหน
title_full_unstemmed การประเมินความถูกต้องของค่าความสูงออร์โทเมตริกจากการสำรวจแบบเคลื่อนที่โดยใช้ระบบดาวเทียมนำหน
title_sort การประเมินความถูกต้องของค่าความสูงออร์โทเมตริกจากการสำรวจแบบเคลื่อนที่โดยใช้ระบบดาวเทียมนำหน
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2013
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35861
http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1474
_version_ 1724630218032807936