ผลกระทบขององค์ประกอบทางการออกแบบแสงประดิษฐ์ที่มีผลต่อการรับรู้ของผู้ใช้อาคาร : กรณีศึกษาโถงต้อนรับของโรงแรม
วิทยานิพนธ์ (สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2013
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35869 http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1442 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.35869 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Chulalongkorn University Library |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
การให้แสงทางสถาปัตยกรรมและการตกแต่ง โรงแรม -- การจัดแสง ห้องโถงโรงแรม -- การจัดแสง การส่องสว่างภายใน Lighting, Architectural and decorative Hotels -- Lighting Hotel lobbies -- Lighting Interior lighting |
spellingShingle |
การให้แสงทางสถาปัตยกรรมและการตกแต่ง โรงแรม -- การจัดแสง ห้องโถงโรงแรม -- การจัดแสง การส่องสว่างภายใน Lighting, Architectural and decorative Hotels -- Lighting Hotel lobbies -- Lighting Interior lighting พันธิตรา เกียรตินิยมศักดิ์ ผลกระทบขององค์ประกอบทางการออกแบบแสงประดิษฐ์ที่มีผลต่อการรับรู้ของผู้ใช้อาคาร : กรณีศึกษาโถงต้อนรับของโรงแรม |
description |
วิทยานิพนธ์ (สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555 |
author2 |
วรภัทร์ อิงคโรจน์ฤทธิ์ |
author_facet |
วรภัทร์ อิงคโรจน์ฤทธิ์ พันธิตรา เกียรตินิยมศักดิ์ |
format |
Theses and Dissertations |
author |
พันธิตรา เกียรตินิยมศักดิ์ |
author_sort |
พันธิตรา เกียรตินิยมศักดิ์ |
title |
ผลกระทบขององค์ประกอบทางการออกแบบแสงประดิษฐ์ที่มีผลต่อการรับรู้ของผู้ใช้อาคาร : กรณีศึกษาโถงต้อนรับของโรงแรม |
title_short |
ผลกระทบขององค์ประกอบทางการออกแบบแสงประดิษฐ์ที่มีผลต่อการรับรู้ของผู้ใช้อาคาร : กรณีศึกษาโถงต้อนรับของโรงแรม |
title_full |
ผลกระทบขององค์ประกอบทางการออกแบบแสงประดิษฐ์ที่มีผลต่อการรับรู้ของผู้ใช้อาคาร : กรณีศึกษาโถงต้อนรับของโรงแรม |
title_fullStr |
ผลกระทบขององค์ประกอบทางการออกแบบแสงประดิษฐ์ที่มีผลต่อการรับรู้ของผู้ใช้อาคาร : กรณีศึกษาโถงต้อนรับของโรงแรม |
title_full_unstemmed |
ผลกระทบขององค์ประกอบทางการออกแบบแสงประดิษฐ์ที่มีผลต่อการรับรู้ของผู้ใช้อาคาร : กรณีศึกษาโถงต้อนรับของโรงแรม |
title_sort |
ผลกระทบขององค์ประกอบทางการออกแบบแสงประดิษฐ์ที่มีผลต่อการรับรู้ของผู้ใช้อาคาร : กรณีศึกษาโถงต้อนรับของโรงแรม |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2013 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35869 http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1442 |
_version_ |
1724629858318811136 |
spelling |
th-cuir.358692019-10-16T02:21:13Z ผลกระทบขององค์ประกอบทางการออกแบบแสงประดิษฐ์ที่มีผลต่อการรับรู้ของผู้ใช้อาคาร : กรณีศึกษาโถงต้อนรับของโรงแรม The effect of light design elements on users perception : case studies of hotel lobbies พันธิตรา เกียรตินิยมศักดิ์ วรภัทร์ อิงคโรจน์ฤทธิ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ การให้แสงทางสถาปัตยกรรมและการตกแต่ง โรงแรม -- การจัดแสง ห้องโถงโรงแรม -- การจัดแสง การส่องสว่างภายใน Lighting, Architectural and decorative Hotels -- Lighting Hotel lobbies -- Lighting Interior lighting วิทยานิพนธ์ (สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555 งานวิจัยนี้จัดทำขึ้นเพื่อศึกษาผลกระทบจากองค์ประกอบการออกแบบแสงประดิษฐ์ในส่วนโถงต้อนรับของโรงแรมที่ส่งผลกระทบต่อการรับรู้ของผู้ใช้งาน โดยเลือกวิจัยในส่วนขององค์ประกอบการออกแบบแสงประดิษฐ์ที่มีการใช้งานเป็นส่วนมากในโรงแรมระดับ 4-5 ดาว ของกรุงเทพมหานครในปัจจุบัน โดยเลือกวิเคราะห์เฉพาะการออกแบบแสงประดิษฐ์ในส่วนของฝ้าเพดานเฉพาะรูปแบบฝ้าเพดานหลุมไฟหลืบและฝ้าเพดานเรียบดาวน์ไลท์ และเฉพาะผนังที่ตกแต่งด้วย wall washer และผนังที่ไม่มีแสงตกแต่งเท่านั้น ควบคู่ไปกับปัจจัยในด้านระดับความสูงของฝ้าเพดานที่ 1 ชั้นและ 2 ชั้น และระดับความสว่างที่สว่างและสลัว เพื่อวิจัยความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบของการออกแบบแสงประดิษฐ์ทั้ง 4 ปัจจัยหลัก โดยการทำภาพจำลองเสมือนจริง เพื่อนำไปใช้เป็นโจทย์ในการวิเคราะห์ โดยทำการเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์ในเบื้องต้นรวมไปถึงการทบทวนวรรณกรรมเพื่อสามารถนำคำจำกัดความที่เหมาะสมที่จะนำมาใช้ในรูปแบบของการตอบแบบสอบถาม โดยใช้มาตรวัดระดับความรู้สึกที่ -3 ถึง 3 (Osgood Scale, 1957) โดยผู้ตอบแบบสอบถามคือบุคคลทั่วไปจำนวน 120 คน หลังจากนั้นนำผลที่ได้จากการตอบแบบสอบถามมาวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมทางสถิติ โดยใช้การวิเคราะห์แบบ Descriptive Statistic, Correlation coefficient และ MANOVA เพื่อดูผลทางสถิติและความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้น งานวิจัยนี้สามารถสรุปได้ว่าปัจจัยที่เกิดผลกระทบต่อผู้เข้าใช้งานในพื้นที่คือระดับความสว่างโดยผู้เข้าใช้พื้นที่ชอบการออกแบบแสงสว่างที่สว่างมากกว่าสลัว ค่า p-value<0.01 ที่ระดับนัยสำคัญ 0.01 ปัจจัยรองลงมาคือการออกแบบแสงที่ผนังโดยผู้เข้าใช้พื้นที่ที่มีการตกแต่งด้วย wallwasher มากกว่าผนังที่ไม่มีแสงตกแต่ง และผู้เข้าใช้งานชอบฝ้าเพดานหลุมมากกว่าฝ้าเพดานเรียบ ชอบส่วนโถงต้อนรับที่มีฝ้าเพดานสูง 2 ชั้นมากกว่าสูง 1 ชั้น ระดับความสว่างที่สว่างจะทำให้เกิดความรู้สึกชอบการออกแบบแสงในภาพรวมและมีแนวโน้มทำให้เกิดความรู้สึกสบายตา ความรู้สึกมองเห็นชัดเจน ความรู้สึกต้อนรับ ความรู้สึกน่าสนใจ ความรู้สึกอบอุ่น และความรู้สึกโปร่งโล่งควบคู่ไปด้วยเช่นกัน รวมถึงการปฏิสัมพันธ์กับองค์ประกอบอื่นล้วนทำให้เกิดความรู้สึกต่อผู้เข้าใช้งานมาก แต่ความรู้สึกและความชอบที่เกิดขึ้นนั้นๆจะแตกต่างกันไปตามความสัมพันธ์ขององค์ประกอบ โดยส่วนใหญ่ผู้เข้าใช้งานจะมองในภาพรวมมากกว่าการมองทีละองค์ประกอบ คือปฏิสัมพันธ์เพียง 2 องค์ประกอบให้ความรู้สึกมากกว่าปฏิสัมพันธ์ของ 3 และ 4 องค์ประกอบได้เช่นกัน จากการวิจัยนี้สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการออกแบบสำหรับผู้ออกแบบที่ไม่มีประสบการณ์หรือผู้ที่สนใจ This research is aimed at studying the effect of light design elements in hotel lobbies on users’ perceptions. The researcher examines only the light design elements which are mostly used in 4-to-5 star hotels in Bangkok at present, pinpointing only those on the ceiling panels with grooves for light settings, the evenly leveled ceiling panels for recessed lights, the walls decorated with wall washers, and the walls without light design elements. The study includes the factors related to the ceiling panels which areas high as 1-and-2 story buildings and the 2 levels of light which are bright and dim. The researcher studies the relations among the four major light design elements by making mock ups used for analyzing the already mentioned factors. The researcher has collected data by interviewing and reviewing the literature, which, in turn, lead to the appropriate definition used in questionnaires. The subjects are 120 people responding to the -3 to 3 Osgood Scale measurement of feelings (Osgood Scale, 1957). The results are statistically analyzed, using descriptive statistics, correlation coefficient and MANOVA. It is concluded that the factor that has the most effect on the users is the level of light. The users prefer the design having bright light to that having dim light. The p-value is significant at 0.01. The next important factor is the light design on walls. The subjects prefer walls decorated with wall washers to those without this decoration. In addition, the subjects prefer ceiling panels with grooves for light settings to those evenly leveled, and they prefer ceiling panels with the height of 2-story buildings to those with a 1-story height. The levels of light render some of these feelings: comfort, clarity, hospitality, interest, warmth and lightheartedness. The light together with other factors gives a lot of feelings to the users. However, the feelings and users’ preferences are varied depending on the relations among different factors. Generally, the users focus on the factors as a whole rather than individually. In addition, the relation between 2 factors gives a more positive impression than the relation among 3 and 4 factors. This study aims to give insight to those inexperienced and/or interested in the field. 2013-09-10T09:28:56Z 2013-09-10T09:28:56Z 2555 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35869 10.14457/CU.the.2012.1442 th http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1442 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |