เทคนิคการสำรวจระยะไกลเพื่อการประมาณค่าผลผลิตมวลชีวภาพสวนป่าชายเลน

วิทยานิพนธ์ (วศ.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: วิโรจน์ ละอองมณี
Other Authors: ชัยโชค ไวภาษา
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2013
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35891
http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.643
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.35891
record_format dspace
spelling th-cuir.358912019-09-24T09:52:09Z เทคนิคการสำรวจระยะไกลเพื่อการประมาณค่าผลผลิตมวลชีวภาพสวนป่าชายเลน Remote sensing techniques for biomass estimation of mangrove plantation วิโรจน์ ละอองมณี ชัยโชค ไวภาษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ ชีวมวล -- การวิเคราะห์ข้อมูลระยะไกล ป่าชายเลน Biomass -- Remote sensing Mangrove forests วิทยานิพนธ์ (วศ.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554 การศึกษาวิจัยเพื่อหาข้อสรุปความเหมาะสมของขนาดจุดภาพที่ใช้ ความเหมาะสมของดัชนีพืชพรรณซึ่งนำไปประมาณค่าดัชนีพื้นที่ใบ ตลอดจนการทดสอบผลจากเทคนิคการปรับปรุงคุณภาพจุดภาพด้วยวิธีหลอมภาพ (Satellite Image Fusion) ในรูปแบบต่าง ๆ และใช้ข้อมูลภาพถ่ายจากดาวเทียมในช่วงคลื่นไมโครเวฟ (Microwave Remote Sensing) มาร่วมประมาณค่าผลผลิตมวลชีวภาพในสวนป่าชายเลน ผลการศึกษาสรุปได้ว่าขนาดจุดภาพที่เหมาะสมในการประมาณค่าดัชนีพื้นที่ใบในสวนป่าชายเลนอยู่ที่ขนาด 10-เมตร ในทุก ๆ ดัชนีพืชพรรณ (R2 ระหว่าง 0.71 ถึง 0.82) โดยมีดัชนีพืชพรรณ Tasseled Cap Transformed Green Vegetation (TCT-GVI) ได้ค่าสัมประสิทธิ์การตัดสินใจสูงที่สุดคือ R2 = 0.824 ถัดมาเป็น Enhanced Vegetation Index (EVI) R2 = 0.817 และ Normalization Difference Vegetation Index (NDVI) R2 = 0.810 ซึ่งไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และผลการวิเคราะห์เพื่อประมาณค่าผลผลิตมวลชีวภาพเป็นดัชนีพืชพรรณ EVI ที่มีค่าสัมประสิทธิ์การตัดสินใจสูงที่สุดได้ R2 = 0.54 รองลงมาเป็น NDVI ที่ R2 = 0.50 และ TCT-GVI ได้ R2 = 0.46 จากแบบจำลองประมาณค่าผลผลิตมวลชีวภาพในพื้นที่สวนป่าชายเลน บางปู ฯ ด้วยข้อมูลดัชนี EVI ได้ 85.38 ตันต่อเฮกตาร์ ในขณะที่ผลการทดสอบการประมาณค่าผลผลิตมวลชีวภาพจากเทคนิคการปรับปรุงคุณภาพจุดภาพด้วยวิธีหลอมภาพ ไม่ปรากฎว่ามีเทคนิคใดเหมาะสม ( R2 อยู่ระหว่าง 0.020 ถึง 0.048) แต่พบว่าการใช้ข้อมูลภาพถ่ายจากดาวเทียมในช่วงคลื่นไมโครเวฟ (ALOS PALSAR) สามารถประมาณค่าผลผลิตมวลชีวภาพในพื้นที่สวนป่าชายเลนได้ดี (R2 = 0.87) และ R2 = 0.88 เมื่อใช้ร่วมกับข้อมูลภาพในช่วงคลื่นแสง ซึ่งประมาณค่าผลผลิตในพื้นที่ได้ 111.17 ตันต่อเฮกตาร์ In this study the relationship between image resolution size and vegetation index (VI) for estimating leaf area index (LAI) were examined. Three image fusion techniques for improvement resolution of remote sensing data were tested for the most appropriate to estimate LAI. Moreover the microwave remote sensing data were also used to estimate biomass of mangrove plantation. Study result suggested that 10-meter image resolution is the most appropriate size for estimating LAI for five vegetation indices (R2 = 0.71 - 0.82). The R2 of Tasseled Cap Transformed Green Vegetation (TCT-GVI), Enhanced Vegetation Index (EVI) and Normalization Difference Vegetation Index (NDVI) are 0.824, 0.817 and 0.810, respectively with non-sigtificant. However the most appropriate VI for estimating biomass is EVI with the highest R2 = 0.54 follow by NDVI (R2 = 0.50) and TCT-GVI (R2 = 0.46). Estimated biomass of Bangpu mangrove plantation using model from EVI is 85.38 ton/hectare. Three image fusion techniques cannot improve low resolution remote sensing image for estimating LAI. Low relationship between NDVI transformed from the Pan-sharpen data and LAI were calculated (R2 = 0.020 – 0.048). Result from microwave remote sensing data (PALSAR) analysis suggested that it is appropriate to estimate biomass (R2 = 0.87). Moreover this R2 value is able to be improved by using the combination of microwave and optical remote sensing data (R2 = 0.88). The estimated biomass of Bangpu mangrove plantation by this model is 111.17 ton/hectare. 2013-09-11T08:52:22Z 2013-09-11T08:52:22Z 2554 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35891 10.14457/CU.the.2011.643 th http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.643 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Chulalongkorn University Library
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic ชีวมวล -- การวิเคราะห์ข้อมูลระยะไกล
ป่าชายเลน
Biomass -- Remote sensing
Mangrove forests
spellingShingle ชีวมวล -- การวิเคราะห์ข้อมูลระยะไกล
ป่าชายเลน
Biomass -- Remote sensing
Mangrove forests
วิโรจน์ ละอองมณี
เทคนิคการสำรวจระยะไกลเพื่อการประมาณค่าผลผลิตมวลชีวภาพสวนป่าชายเลน
description วิทยานิพนธ์ (วศ.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554
author2 ชัยโชค ไวภาษา
author_facet ชัยโชค ไวภาษา
วิโรจน์ ละอองมณี
format Theses and Dissertations
author วิโรจน์ ละอองมณี
author_sort วิโรจน์ ละอองมณี
title เทคนิคการสำรวจระยะไกลเพื่อการประมาณค่าผลผลิตมวลชีวภาพสวนป่าชายเลน
title_short เทคนิคการสำรวจระยะไกลเพื่อการประมาณค่าผลผลิตมวลชีวภาพสวนป่าชายเลน
title_full เทคนิคการสำรวจระยะไกลเพื่อการประมาณค่าผลผลิตมวลชีวภาพสวนป่าชายเลน
title_fullStr เทคนิคการสำรวจระยะไกลเพื่อการประมาณค่าผลผลิตมวลชีวภาพสวนป่าชายเลน
title_full_unstemmed เทคนิคการสำรวจระยะไกลเพื่อการประมาณค่าผลผลิตมวลชีวภาพสวนป่าชายเลน
title_sort เทคนิคการสำรวจระยะไกลเพื่อการประมาณค่าผลผลิตมวลชีวภาพสวนป่าชายเลน
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2013
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35891
http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.643
_version_ 1724696109618561024